Return to Video

ความท้าทายเกิดคาดเดาของประเทศที่เลือกตั้งเป็นครั้งแรก

  • 0:01 - 0:04
    นักปรัชญาชื่อดัง อลิสโตเติล กล่าวว่า
  • 0:05 - 0:08
    ถ้าบางสิ่งไม่มีตัวตน
    มันก็ไม่มีคำสำหรับมัน
  • 0:09 - 0:12
    และถ้าไม่มีคำสำหรับบางสิ่ง
  • 0:12 - 0:13
    สิ่งนั้นก็ไม่มีตัวตน
  • 0:14 - 0:16
    ดังนั้น เมื่อเราพูดถึงการเลือกตั้ง
  • 0:16 - 0:20
    ที่เราสร้างขึ้นในระบอบประชาธิปไตย
    พวกเรารู้ว่าเราพูดถึงอะไรกันอยู่
  • 0:20 - 0:22
    พวกเรามีคำต่างๆ
    พวกเรามีศัพท์
  • 0:22 - 0:24
    พวกเรารู้ว่าสถานที่เลือกตั้งคืออะไร
  • 0:24 - 0:26
    พวกเรารู้ว่าบัตรออกเสียงคืออะไร
  • 0:27 - 0:31
    แต่ถ้าเป็นประเทศที่ไม่เคย
    มีระบอบประชาธิปไตยมาก่อนละ
  • 0:32 - 0:36
    ประเทศที่ไม่มีคำใดๆ อธิบาย
    แนวคิดเหล่านี้
  • 0:36 - 0:39
    เพื่อสนับสนุนสังคมประชาธิปไตย
  • 0:40 - 0:42
    ฉันทำงานในสายงาน
    ช่วยเหลือด้านการเลือกตั้ง
  • 0:42 - 0:44
    หน้าที่เราก็คือการให้คำแนะนำ
  • 0:44 - 0:46
    ระบอบประชาธิปไตยให้องค์กร
  • 0:46 - 0:48
    ที่เพิ่งเคยมีการเลือกตั้งเป็นครั้งแรก
  • 0:49 - 0:51
    เมื่อผู้คนถามฉันว่าฉันทำอะไร
  • 0:51 - 0:53
    ฉันมักจะให้คำตอบแบบนี้
  • 0:53 - 0:57
    "อ้อ คุณคงเป็นคนที่ไปทั่วโลก
  • 0:57 - 1:01
    ที่บีบบังคับประเทศต่างๆ ให้รับประชาธิปไตย
    สไตล์ตะวันตกทั้งๆ ที่เขารับไม่ได้นั่นเอง"
  • 1:02 - 1:07
    ค่ะ องค์กรสหประชาชาติ
    ไม่บีบบังคับให้รับอะไรหรอกค่ะ
  • 1:08 - 1:09
    ไม่ได้ทำหรอก
  • 1:09 - 1:11
    และที่พวกเราทำ
  • 1:11 - 1:18
    ได้เน้นย้ำอีกครั้งในปี 1948
    ในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
  • 1:18 - 1:20
    บทที่ 21 ที่กล่าวว่า
  • 1:20 - 1:23
    ทุกคนควรมีสิทธิ์เลือกรัฐบาลของ
    พวกเขาเอง
  • 1:24 - 1:26
    และนั่นคือพื้นฐานของงานเรา
  • 1:26 - 1:28
    ฉันเชี่ยวชาญการเผยแพร่สู่สาธารณะ
  • 1:28 - 1:31
    แล้วหมายความว่าอย่างไรละ ศัพท์เฉพาะอีกแล้ว
  • 1:31 - 1:35
    มันมีความหมายว่า
    การออกแบบแคมเปญเชิงข้อมูล
  • 1:35 - 1:37
    เพื่อให้สมาชิกและผู้โหวต
  • 1:37 - 1:41
    ที่ไม่เคยมีโอกาส
    เข้าร่วม หรือโหวต
  • 1:41 - 1:45
    ได้เข้าใจว่าสามารถโหวตได้
  • 1:45 - 1:47
    ที่ไหน เมื่อไหร่ ลงทะเบียนอย่างไร
  • 1:47 - 1:50
    เพื่ออะไร การมีส่วนร่วมสำคัญอย่างไร
  • 1:51 - 1:55
    ฉันก็อาจจะออกแบบแคมเปญที่เจาะจง
    เพื่อกลุ่มผู้หญิง
  • 1:55 - 1:57
    เพื่อให้มั่นใจว่าพวกเขาจะสามารถร่วมได้
  • 1:57 - 1:59
    และเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
  • 1:59 - 2:01
    วัยรุ่นก็เหมือนกัน
  • 2:01 - 2:02
    คนทุกประเภทเลย
  • 2:03 - 2:04
    คนพิการ
  • 2:04 - 2:06
    พวกเราต้องการเข้าถึงทุกๆ คน
  • 2:07 - 2:10
    และมันก็ไม่ได้ง่ายเสมอไป
    เพราะตลอดการทำงาน
  • 2:10 - 2:13
    มาหลายปีนี้
    ฉันได้สังเกตว่า
  • 2:13 - 2:16
    คำต่างๆ มักไม่พอ
  • 2:16 - 2:18
    แล้วคุณจะทำอย่างไรละ
  • 2:18 - 2:19
    ที่อัฟกานิสถาน
  • 2:20 - 2:23
    เป็นประเทศที่มีคนไม่รู้หนังสือ
    ในระดับสูง
  • 2:23 - 2:27
    และในปี 2005
  • 2:27 - 2:31
    พวกเราจัดสองการเลือกตั้งใน
    วันเดียวกันขึ้น
  • 2:31 - 2:35
    เพราะว่าการส่งหน่วยช่วยเข้าไป
    ดูเป็นไปได้ยากยิ่ง
  • 2:35 - 2:37
    เลยคิดว่าวิธีนี้คงได้ผลกว่า
  • 2:37 - 2:38
    แต่แล้ว
  • 2:38 - 2:43
    การจัดสองการเลือกตั้งแทน
    การเลือกตั้งเดียว
  • 2:43 - 2:44
    กลับยิ่งทำให้ซับซ้อนไปใหญ่
  • 2:44 - 2:47
    พวกเราเลยใช้ภาพมากมาย
  • 2:47 - 2:50
    และเมื่อถึงการใช้บัตรออกเสียงจริงๆ
  • 2:50 - 2:53
    พวกเราก็มีปัญหาเพราะ
    ผู้คนมากมายอยากมีส่วนร่วม
  • 2:53 - 2:58
    พวกเรามีผู้สมัครกว่า 52 ที่นั่ง
  • 2:58 - 3:01
    ในโวสี จิรกา ที่เป็น
    สถานที่เลือกตั้งรัฐสภา
  • 3:02 - 3:05
    และสำหรับสมาชิกสภาจังหวัด
    เรามีผู้สมัครยิ่งมากกว่านั้น
  • 3:05 - 3:08
    เรามีถึง 330 คน ต่อ 54 ตำแหน่ง
  • 3:08 - 3:11
    พูดถึงการออกแบบบัตรออกเสียง
  • 3:11 - 3:15
    นี่คือหน้าตาของบัตรออกเสียง
  • 3:16 - 3:17
    นี่เป็นขนาดของหนังสือพิมพ์
  • 3:17 - 3:19
    และนี่คือบัตรออกเสียงของโวสี จิรกา
  • 3:19 - 3:21
    (เสียงหัวเราะ)
  • 3:21 - 3:22
    ใช่ และ
  • 3:23 - 3:26
    นี่คือบัตรออกเสียงเลือกสมาชิกสภาจังหวัด
  • 3:27 - 3:29
    ยิ่งมากกว่า
  • 3:29 - 3:34
    อย่างที่เห็น พวกเราใช้
    สัญลักษณ์มากมายแบบนี้
  • 3:34 - 3:38
    และพวกเราก็มีปัญหาอื่นๆ
    ที่ซูดานใต้
  • 3:38 - 3:41
    ซูดานใต้เป็นอีกเรื่องนึงเลย
  • 3:41 - 3:44
    พวกเรามีกลุ่มคนที่
    ไม่เคยโหวตมาก่อน
  • 3:44 - 3:48
    แต่พวกเรามีคนที่มีระดับ
    การไม่รู้หนังสือที่สูงมากๆ
  • 3:49 - 3:51
    เป็นโครงสร้างพื้นฐานที่แย่มาก
  • 3:51 - 3:55
    ตัวอย่างง่ายๆ ประเทศที่มี
    ขนาดใกล้กับเท็กซัส
  • 3:56 - 3:58
    พวกเรามีถนนปูลาดยาว 7 กิโลเมตร
  • 3:59 - 4:01
    7 กิโลเมตรทั่วประเทศ
  • 4:01 - 4:04
    รวมถึงลานบิน
  • 4:05 - 4:06
    ที่สนามบินจูด้าด้วย
  • 4:06 - 4:09
    การขนส่งอุปกรณ์ต่างๆ สำหรับการเลือกตั้ง
  • 4:09 - 4:11
    นั้นเป็นไปด้วยความยาก
  • 4:12 - 4:16
    คนไม่รู้ว่ากล่องเลือกตั้งหน้าตาอย่างไร
  • 4:17 - 4:19
    มันซับซ้อนเหลือเกิน
  • 4:19 - 4:23
    จนการใช้คำพูดในการสื่อสาร
    น่าจะเป็นทางที่ควรจะใช้
  • 4:23 - 4:26
    แต่ที่นี่มีถึง 132 ภาษา
  • 4:27 - 4:30
    เลยเป็นเรื่องที่ท้าทายมาก
  • 4:30 - 4:34
    แล้วฉันก็ได้ไปที่ทูนิเซียปี 2011
  • 4:34 - 4:36
    เป็นช่วงฤดูใบไม้ผลิของอาหรับ
  • 4:36 - 4:40
    ความหวังอันมากมายก่อให้เกิด
    การเคลื่อนไหวครั้งใหญ่
  • 4:40 - 4:42
    ที่เกิดขึ้นในแคว้น
  • 4:42 - 4:45
    ที่ลิปยา อียิปต์ เยเมน
  • 4:45 - 4:48
    เป็นช่วงเวลาประวัติศาสตร์
    ที่ยิ่งใหญ่มาก
  • 4:48 - 4:51
    และฉันก็ได้ไปนั่งอยู่ใน
    คณะเลือกตั้ง
  • 4:51 - 4:54
    พวกเราพูดคุยเรื่อง
    มุมมองต่างๆ ของการเลือกตั้ง
  • 4:55 - 4:58
    และได้ยินหลายๆ คำที่ฉัน
    ไม่เคยได้ยินมาก่อน
  • 4:58 - 5:02
    ฉันเคยทำงานกับคนอิรัก
    คนจอแดน อียิปต์
  • 5:02 - 5:05
    และทันใดนั้น พวกเขาก็ใช้คำเหล่านั้น
  • 5:05 - 5:06
    แล้วฉันก็คิดว่า นี่มันแปลกจัง
  • 5:06 - 5:09
    และคำที่น่าสนใจคงหนีไม่พ้น
    "ผู้สังเกตการณ์"
  • 5:09 - 5:12
    เราถกกันเรื่องผู้สังเกตการณ์การเลือกตั้ง
  • 5:12 - 5:16
    และคณะกรรมธิการเลือกตั้งพูดถึง
    "มูลาฮิส" ในอาหรับ
  • 5:16 - 5:21
    แปลว่า "สังเกต"
    ในเชิงเรียบๆ
  • 5:21 - 5:24
    เหมือนกับ "ฉันสังเกต
    ว่าเขาใส่เสื้อเชิร์ตสีฟ้าอ่อน"
  • 5:24 - 5:28
    ฉันได้ไปตรวจเช็คจริงๆ หรือเปล่า
    ว่าเป็นเสื้อสีฟ้าอ่อน
  • 5:28 - 5:30
    นี่เป็นหน้าที่นักสังเกตการณ์การเลือกตั้ง
  • 5:30 - 5:34
    มันแอคทีฟมาก ดูแลโดย
    ข้อตกลงหลากหลายแบบ
  • 5:34 - 5:37
    และระบบควบคุมในตัวเอง
  • 5:37 - 5:39
    แล้วฉันก็ได้รู้ความจริงในอียิปต์
  • 5:39 - 5:42
    พวกเขาใช้ "มูทาบิ"
    ที่แปลว่า "ติดตาม"
  • 5:42 - 5:45
    ตอนนี้พวกเรามี
    ผู้ติดตามทางการเมืองแล้ว
  • 5:45 - 5:47
    ความจริงอันนี้ก็ไม่ค่อยใช่
  • 5:47 - 5:50
    เพราะมีคำอธิบาย
    ที่ได้รับการยอมรับ
  • 5:50 - 5:53
    นั่นก็คือคำว่า "มูราควิบ"
    แปลว่า "ผู้ควบคุม"
  • 5:53 - 5:56
    ให้ความมุมมองเรื่องการควบคุม
  • 5:56 - 5:59
    ฉันก็คิด สามคำ สำหรับ
    คอนเซปต์เดียว คงไม่ดี
  • 5:59 - 6:02
    และเพื่อนร่วมงานของเรา
    คิดว่านี่อาจเป็นหน้าที่ของเรา
  • 6:02 - 6:06
    ที่ต้องช่วยให้เข้าใจ
    คำเหล่านั้นจริงๆ
  • 6:07 - 6:10
    และสร้างการทำงาน
  • 6:10 - 6:12
    ที่เชื่อมโยงกันเขตอาหรับ
  • 6:12 - 6:14
    และนี่คือสิ่งที่พวกเราทำ
  • 6:14 - 6:15
    ดังนั้นร่วมกับเพื่อนร่วมงานนี้
  • 6:15 - 6:19
    พวกเราได้เปิดตัว "คลังคำ
    เกี่ยวกับการเลือกตั้งอาหรับ"
  • 6:19 - 6:22
    และพวกเราทำงานร่วม
    กับอีกแปดประเทศ
  • 6:23 - 6:27
    อธิบายศัพท์กว่า 481
  • 6:27 - 6:30
    ที่สร้างพื้นฐานให้กับ
    ทุกอย่างที่ต้องรู้
  • 6:30 - 6:32
    ถ้าคุณจะจัดระเบียบ
    การเลือกตั้งระบอบประชาธิปไตย
  • 6:33 - 6:34
    เราให้ความหมายศัพท์เหล่านี้
  • 6:34 - 6:36
    ทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงานชาวอาหรับ
  • 6:36 - 6:40
    และตกลงกันว่าคำไหนที่เหมาะ
  • 6:40 - 6:42
    ในการใช้ในอาหรับ
  • 6:42 - 6:46
    เพราะภาษาอาหรับที่เข้มข้นมาก
    และนั่นก็เป็นปัญหาในส่วนหนึ่ง
  • 6:46 - 6:49
    แต่ 22 ประเทศที่พูด
    อาหรับ
  • 6:49 - 6:54
    ใช้ภาษาอาหรับยุคใหม่
  • 6:54 - 6:56
    ซึ่งก็คือภาษาอาหรับที่
    ใช้กันทั่วเขต
  • 6:57 - 6:59
    ในหนังสือพิม์ สื่อต่างๆ
  • 6:59 - 7:04
    แต่เน่นอนว่าในแต่ละประเทศ
    การใช้ภาษาในชีวิตประจำวัน
  • 7:04 - 7:07
    นั้นหลากหลาย ทั้งภาษาพูด
    ภาษาท้องถิ่น
  • 7:07 - 7:10
    เลยยิ่งเพิ่มขั้นความซับซ้อนด้วย
  • 7:10 - 7:12
    คุณก็จะเจอปัญหา
  • 7:12 - 7:16
    ว่าภาษาก็ไม่ได้ช่วยเต็มที่
  • 7:16 - 7:19
    คำที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่
    ความคิดใหม่ก็เกิดขึ้น
  • 7:19 - 7:21
    พวกเราให้ความหมายศัพท์
  • 7:21 - 7:24
    แล้วก็มีนักข่าวแปดคนในเขต
  • 7:24 - 7:26
    เพื่อที่เราจะส่งต้นฉบับให้เขา
  • 7:26 - 7:28
    พวกเขาจะตอบกลับ
  • 7:28 - 7:31
    "ใช่ เราเข้าใจความหมาย
  • 7:31 - 7:32
    พวกเราเห็นด้วย
  • 7:32 - 7:35
    แต่นี่คือสิ่งที่พวกเราพูดกันในประเทศ"
  • 7:35 - 7:39
    เพราะพวกเราจะไม่โอนอ่อน
    หรือบังคับให้โอนอ่อน
  • 7:39 - 7:42
    เราพยายามทำให้หมู่คนกันเอง
    เข้าใจกันได้ง่ายขึ้น
  • 7:43 - 7:48
    ดังนั้นในส่วนสีเหลือง คุณจะเห็น
    การสื่อความหมายที่แตกต่างกัน
  • 7:48 - 7:49
    ในประเทศต่างๆ
  • 7:50 - 7:54
    จากตรงนี้ ฉันยินดีที่จะพูดว่า
    มันใช่เวลากว่าสามปีในการสร้าง
  • 7:54 - 7:58
    เพราะพวกเราต้องสรุปต้นแบบ
    และลงสนามจริง
  • 7:58 - 8:01
    นั่งกับคณะกรรมาธิการการเลือกตั้ง
    ในประเทศต่างๆ
  • 8:01 - 8:04
    ถก หาข้อสรุป และระบุความหมายต้นแบบ
  • 8:04 - 8:09
    แล้วค่อยตีพิมพ์ในเดือน
    พฤศจิกายน 2014 ที่เมืองไคโร
  • 8:09 - 8:13
    มันมาไกลมาก
    พวกเราตีพิมพ์ถึง 10,000 ก้อปปี้
  • 8:13 - 8:18
    และมีการดาวน์โหลดกว่า 3,000 ครั้ง
    ในรูปแบบ PDF
  • 8:18 - 8:22
    เร็วๆ นี้ฉันได้ยินจากเพื่อนร่วมงาน
    ว่าพวกเขากำลังใช้ที่โซมาเลีย
  • 8:22 - 8:25
    พวกเขากำลังจะผลิต
    สิ่งนี้เป็นเวอร์ชั่นโซมาเลีย
  • 8:25 - 8:27
    เพราะที่โซมาเลียไม่มีเลย
  • 8:27 - 8:30
    นั่นเป็นเรื่องดีที่ได้รู้
  • 8:30 - 8:34
    องค์กรการจัดการการเลือกตั้งอาหรับ
  • 8:34 - 8:37
    เป็นองค์กรที่พยายามเป็นโปรฯ
  • 8:37 - 8:39
    ที่จะจัดการการเลือกตั้งในภูมิภาค
  • 8:39 - 8:42
    พวกเขาก็ใช้สิ่งนี้เหมือนกัน
  • 8:42 - 8:47
    อับหรับหลีกตอนนี้สร้าง
    หน่วยสังเกตการณ์ แพนอาหรับ
  • 8:48 - 8:49
    แล้วทนลองใช้อยู่
  • 8:49 - 8:51
    เป็นเรื่องที่ดีมากเลย
  • 8:51 - 8:55
    แต่ว่า การอ้างอิงนี้
    สู้กันสูง
  • 8:55 - 8:58
    ซับซ้อน และมีศัพท์แสงเยอะ
  • 8:58 - 9:02
    คนส่วนใหญ่ไม่จำเป็นต้องรู้ถึง
    สามส่วนของทั้งหมด
  • 9:03 - 9:05
    แต่ผู้คนในตะวันออกกลาง
  • 9:05 - 9:10
    กีดกันทุกสิ่งที่พวกเราเรียกว่า
    การศึกษาส่วนเทศบาล
  • 9:10 - 9:12
    มันเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรโรงเรียน
  • 9:12 - 9:15
    แต่มันไม่มีอยู่ในโลก
  • 9:15 - 9:18
    และฉันรู้สึกว่ามันเป็น
    สิทธิ์ของทุกคน
  • 9:18 - 9:20
    ที่จะรู้เกี่ยวกับงานเหล่านี้
  • 9:20 - 9:25
    แล้วมันดีที่จะรู้เกี่ยวกับ
    การผลิตงานอ้างอิง
  • 9:25 - 9:26
    สำหรับคนทั่วไป
  • 9:26 - 9:28
    และควรสำนึกไว้ว่า
  • 9:29 - 9:31
    เรามีสิ่งพื้นฐานที่ต้องทำ
  • 9:31 - 9:33
    แต่เราก็มีเทคโนโลยีด้วย
  • 9:33 - 9:37
    ดังนั้นเราสามารถใช้แอพฯมือถือ
  • 9:37 - 9:39
    วิดีโอ แอนิเมชั่น เพื่อเข้าถึงได้
  • 9:39 - 9:42
    เครื่องมือทุกประเภท
    สามารถนำมาใช้
  • 9:42 - 9:44
    สื่อสารไอเดียเหล่านี้กับผู้คนได้
  • 9:44 - 9:47
    ด้วยภาษาของพวกเขาเอง
  • 9:48 - 9:50
    พวกเราได้ยินเรื่องลือ
    ของตะวันออกกลางมากมาย
  • 9:50 - 9:54
    ทั้งเรื่องความวุ่นวายของสงคราม
    ผู้ก่อการร้าย
  • 9:54 - 9:59
    การแบ่งแยกนิกาย
    และข่าวด้านลบต่างๆ
  • 9:59 - 10:01
    ที่เข้าหูเรามาตลอด
  • 10:01 - 10:06
    สิ่งที่เราไม่เคยได้ยินคือ
    ผู้คนเป็นอย่างไร มีชีวิตและคิดอย่างไร
  • 10:06 - 10:07
    อะไรคือสิ่งที่พวกเขาปรารถนา
  • 10:08 - 10:12
    จงให้ความหมาย
    อธิบายศัพท์แสง
  • 10:12 - 10:15
    ความเงียบส่วนใหญ่คือความเงียบ
  • 10:15 - 10:17
    เพราะมันไม่มีคำอธิบาย
  • 10:17 - 10:20
    ความเงียบส่วนใหญ่จำเป็นต้องรู้
  • 10:20 - 10:23
    ถึงเวลาแล้วที่จะเสนอ
    เครื่องมือเพื่อเสริมความรู้
  • 10:23 - 10:26
    ที่ให้ข้อมูลกับทุกคน
  • 10:27 - 10:30
    ความเงียบส่วนใหญ่นี้
    ไม่จำเป็นต้องอยู่นิ่ง
  • 10:30 - 10:32
    โปรดช่วยพวกเขามีเสียง
  • 10:32 - 10:34
    ขอบคุณมากค่ะ
  • 10:34 - 10:39
    (เสียงปรบมือ)
Title:
ความท้าทายเกิดคาดเดาของประเทศที่เลือกตั้งเป็นครั้งแรก
Speaker:
ฟิลิปปา นีฟ
Description:

คุณจะสอนทั้งประเทศโหวตได้อย่างไรในเมื่อไม่มีใครเคยทำมาก่อนเลย นี่คือความท้าทายของระยะฟักไข่ของประชาธิปไตยที่ต้องเผชิญทั่วโลก และหนึ่งในปัญหาที่ใหญ่ที่สุดกลับกลายเป็นเรื่องขาดภาษาที่ใช้สื่อร่วมกัน เพราะที่สุดแล้ว ถ้าคุณไม่สามารถอธิบายบางอย่างได้ คุณก็อาจจะไม่เข้าใจมันด้วย ในปาฐกถาที่เปิดโลกครั้งนี้ ฟิลลิปปา นีฟ ผู้เชี่ยวชาญการเลือกตั้ง จะมาแบ่งปันประสบการณ์ต่างๆ ของประชาธิปไตย และเสนอการแก้ปัญหาให้กับช่องว่างทางภาษาที่ไม่เหมือนใครนี้กัน

more » « less
Video Language:
English
Team:
closed TED
Project:
TEDTalks
Duration:
10:51

Thai subtitles

Revisions