Return to Video

หลักฟิสิกส์ของการเล่นกีต้าร์ - ออสการ์ เฟอร์นันโด เพอร์เรซ

  • 0:07 - 0:11
    เฮนดริกซ์ โคเบน และ เพจ
  • 0:11 - 0:12
    พวกเขาสามารถเล่นกีต้าร์
    นำวงร็อกได้
  • 0:12 - 0:16
    แต่เครื่องมือที่โดดเด่นในมือของพวกเขา
  • 0:16 - 0:22
    ทำตัวโน้ต จังหวะ ทำนอง และ เพลง
    ได้อย่างไรกันแน่
  • 0:22 - 0:27
    เมื่อคุณดีดสายกีต้าร์ คุณสร้างแรงสั่น
    ที่เรียกว่า คลื่นแสตนดิ้ง
  • 0:27 - 0:31
    บางจุดบนสายกีต้าร์ที่เรียกว่า โนด
    ไม่เคลื่อนไหวเลย
  • 0:31 - 0:35
    ขณะที่จุดอื่นๆ โนดป้องกัน
    สั่นกลับไปกลับมา
  • 0:35 - 0:40
    การสั่นสะเทือนส่งผ่านคอและสะพาน
    รับสายไปที่ตัวกีต้าร์
  • 0:40 - 0:42
    ซึ่งไม้ที่บางและยืดหยุ่นได้มีการสั่น
  • 0:42 - 0:47
    กระแทกโมเลกุลอากาศโดยรอบ
    เข้าด้วยกันและแยกออกจากกัน
  • 0:47 - 0:50
    การหดตัวต่อเนื่องนี้สร้างคลื่นเสียง
  • 0:50 - 0:54
    และคลื่นเสียงภายในกีต้าร์ส่วนมาก
    เดินทางออกผ่านทางรู
  • 0:54 - 0:56
    ในที่สุดมันก็ถูกส่งผ่านไปที่หูคุณ
  • 0:56 - 0:59
    ซึ่งแปลงเป็นแรงกระตุ้นไฟฟ้า
  • 0:59 - 1:02
    ที่สมองคุณตีความเป็นเสียง
  • 1:02 - 1:06
    ระดีบเสียงขึ้นอยู่กับความถี่ของการหดตัว
  • 1:06 - 1:11
    สายที่สั่นเร็วๆจะสร้างการหดตัวถี่ๆ
  • 1:11 - 1:13
    ทำให้เกิดเสียงสูง
  • 1:13 - 1:16
    และการสั่นช้าๆสร้างเสียงต่ำ
  • 1:16 - 1:20
    สี่อย่างที่มีผลกับความถี่ของการสั่น
    ของสายเครื่องดนตรี
  • 1:20 - 1:24
    ความยาว ความตึง ความหนาแน่น ความหนา
  • 1:24 - 1:27
    สายกีต้าร์ทั่วๆไปมีความยาวเท่ากันหมด
  • 1:27 - 1:32
    และมีความตึงใกล้เคียงกัน
    แต่ต่างกันที่ความหนาและความหนาแน่น
  • 1:32 - 1:36
    สายที่หนากว่าสั่นช้ากว่าทำให้เกิด
    ระดับเสียงที่ต่ำกว่า
  • 1:36 - 1:38
    ทุกครั้งที่คุณดีดสาย
  • 1:38 - 1:41
    คุณสร้างคลื่นแสตนดิ่งหลายๆคลื่น
  • 1:41 - 1:45
    นี่เป็นคลื่นพิ้นฐานแรกซึ่งกำหนดระดับเสียง
    ของตัวโน้ต
  • 1:45 - 1:48
    แต่มีคลื่นที่ชื่อ โอเวอร์โทน
  • 1:48 - 1:51
    ซึ่งความถี่เป็นทวีคูณของคลื่นแรก
  • 1:51 - 1:57
    คลื่นแสตนดิ่งเหล่านี้รวมกันเพื่อสร้างคลื่น
    ซับซ้อนที่มีเสียงที่ยอดเยี่ยม
  • 1:57 - 2:01
    การเปลี่ยนวิธีการดีดสายมีผลกับ
    แบบของโอเวอร์โทนที่คุณจะได้รับ
  • 2:01 - 2:03
    ถ้าคุณดีดมันใกล้ตรงกลาง
  • 2:03 - 2:07
    คุณจะได้โอเวอร์โทนพื้นฐานและแบบแปลกๆออกไป
  • 2:07 - 2:10
    ซึ่งมีแอนตี้โนดอยู่ตรงกลางของสาย
  • 2:10 - 2:14
    ถ้าคุณดีดสายใกล้กับสะพานรับ
    คุณจะได้โอเวอร์โทนมากมายหลายแบบ
  • 2:14 - 2:16
    และเสียงดีดสายที่ชัดกว่า
  • 2:16 - 2:22
    มาตรวัดที่คุ้นเคยแบบตะวันตกมีอนุกรม
    โอเวอร์โทนของสายที่สั่น
  • 2:22 - 2:27
    เมื่อเราได้ยินโน้ตตัวนึงเล่นเสียงกับอีกตัว
    ที่มีความถี่เป็นสองเท่า
  • 2:27 - 2:29
    ของโอเวอร์โทนตัวแรก
  • 2:29 - 2:33
    มันจะไพเราะมาก
    จนเรากำหนดให้มันเป็นเสียงเดียวกัน
  • 2:33 - 2:37
    และกำหนดความแตกต่างเป็น เสียงคู่แปด
  • 2:37 - 2:40
    มาตรวัดที่เหลือถูกบีบเข้าไปใน
    เสียงคู่แปดนั้น
  • 2:40 - 2:42
    ถูกแบ่งออกเป็นสิบสองขั้น
  • 2:42 - 2:48
    ซึ่งมีความถี่เป็น 2^(1/12)
    มากกว่าอันก่อนหน้านี้
  • 2:48 - 2:51
    ปัจจัยนั้นกำหนดการเว้นวรรคของเฟรท
  • 2:51 - 2:57
    แต่ละเฟรทแบ่งความยาวที่เหลือของสาย
    เป็น 2^(1/12)
  • 2:57 - 3:01
    ทำให้ความถี่เพิ่มขึ้น ครึ่งขั้น
  • 3:01 - 3:03
    เครื่องดนตรีที่ไม่มีเฟรท อย่างไวโอลิน
  • 3:03 - 3:07
    สร้างความถี่ระหว่างโน้ตแต่ละตัวได้ง่ายกว่า
  • 3:07 - 3:11
    แต่เพิ่มความท้าทายกับการเล่นเสียง
  • 3:11 - 3:13
    จำนวนสายและการปรับเสียง
  • 3:13 - 3:16
    ถูกปรับเปลี่ยนไปตามคอร์ดที่พวกเราชอบเล่น
  • 3:16 - 3:18
    และสรีระของมือพวกเรา
  • 3:18 - 3:21
    รูปร่างกีต้าร์และวัสดุสามารถปรับเปลี่ยน
    ได้เช่นกัน
  • 3:21 - 3:25
    และทั้งสองอย่างเปลี่ยนธรรมชาติและเสียง
    การสั่นสะเทือน
  • 3:25 - 3:27
    การเล่นสายสองสายหรือมากกว่า
    ในเวลาเดียวกัน
  • 3:27 - 3:32
    ทำให้คุณสร้างรูปแบบคลื่นใหม่ๆ
    อย่างคอร์ดและเสียงพิเศษต่างๆ
  • 3:32 - 3:36
    ตัวอย่างเช่น เมื่อคุณเล่นโน้ตสองตัว
    ที่มีความถี่ใกล้เคียงกัน
  • 3:36 - 3:42
    พวกมันจะรวมตัวกันเพื่อสร้างคลื่นเสียง
    ที่มีช่วงกว้างเพิ่มขึ้นและลดลง
  • 3:42 - 3:46
    สร้างการสั่นสะเทือนที่นักกีต้าร์
    เรียกว่า จังหวะ
  • 3:46 - 3:50
    และกีต้าร์ไฟฟ้าก็มีอะไรให้เล่นมากกว่านั้น
  • 3:50 - 3:52
    การสั่นยังคงเริ่มในสายกีต้าร์
  • 3:52 - 3:56
    แต่หลังจากนั้นมันจะถูกแปลงเป็น
    สัญญาณไฟฟ้าโดยปิคอัพ
  • 3:56 - 3:59
    และถูกส่งไปยังลำโพงที่สร้างคลื่นเสียง
  • 3:59 - 4:01
    ระหว่างปิคอัพและลำโพง
  • 4:01 - 4:05
    มันเป็นไปได้ที่จะประมวลคลื่น
    ได้หลายวิธี
  • 4:05 - 4:12
    เพื่อสร้างผลลัพธ์อย่างการบิดเบือนโอเวอร์
    ไดรฟ์ วาว่า การชะลอและแฟลงเกอร์
  • 4:12 - 4:16
    และทำให้คุณคิดว่าหลักฟิสิกส์ของดนตรี
    มีประโยชน์เฉพาะความบันเทิงเท่านั้น
  • 4:16 - 4:18
    พิจารณานี่ดู
  • 4:18 - 4:21
    นักฟิสิกส์บางคนคิดว่าทุกอย่างในจักรวาล
  • 4:21 - 4:27
    ถูกสร้างโดยอนุกรมของสายเอ็น
    ที่เล็กและตึงมาก
  • 4:27 - 4:29
    โลกความจริงที่เราอยู่ก็คงเช่นกัน
  • 4:29 - 4:34
    เป็นการบรรเลงเดี่ยวที่ยืดยาวของจิมี่
    เฮนดริกซ์ในอวกาศใช่ไหม
  • 4:34 - 4:39
    เป็นที่ชัดเจนว่ามันมีสายเอ็นมากกว่าการ
    ได้พบกับหู
Title:
หลักฟิสิกส์ของการเล่นกีต้าร์ - ออสการ์ เฟอร์นันโด เพอร์เรซ
Description:

ดูบทเรียนแบบเต็มได้ที่: http://ed.ted.com/lessons/the-physics-of-playing-guitar-oscar-fernando-perez

ปรมาจารย์กีต้าร์อย่าง จิมี่ เฮนดริกซ์สามารถควบคุมคลื่นเสียงได้ตามที่เขาต้องการ สร้างทำนองเพลงจากแรงบันดาลใจและการสั่นสะเทือน แต่ไม้ โลหะ พลาสติกแปลงเป็น จังหวะ ทำนอง และ เพลงได้อย่างไร ออสการ์ เฟอร์นันโด เพอร์เรซ เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับหลักฟิสิกส์ของการเล่นกีต้าร์ จากการดีดครั้งแรกจนถึงการดีดคอร์ดกีต้าร์สุดท้าย

บทเรียนโดย ออสการ์ เฟอร์นันโด เพอร์เรซ เทคนิคสร้างภาพพิเศษโดย คริส บอยล์

more » « less
Video Language:
English
Team:
closed TED
Project:
TED-Ed
Duration:
04:55

Thai subtitles

Revisions