Return to Video

จะเปลี่ยนการประท้วงให้เป็นการเปลี่ยนแปลงอันทรงพลังได้อย่างไร - อิริค ลิว (Eric Liu)

  • 0:07 - 0:10
    เราอยู่กันในยุคของการประท้วง
  • 0:10 - 0:11
    ในมหาวิทยาลัย ที่จตุรัสสาธารณะ
  • 0:11 - 0:13
    บนถนน และในโซเชียลมีเดีย
  • 0:13 - 0:17
    ผู้ประท้วงทั่วโลกกำลังเปลี่ยน
    สิ่งที่อยู่ในกรอบเดิม ๆ
  • 0:17 - 0:21
    การประท้วงอาจผลักให้ประเด็น
    เป็นวาระแห่งชาติ หรือเรื่องระดับโลก
  • 0:21 - 0:23
    มันสามารถบีบบังคับขับไล่ทรราช
  • 0:23 - 0:27
    มันสามารถปลุกระดมคนที่ใช้ชีวิต
    ในฐานะพลเมืองผู้นิ่งเฉยมานาน
  • 0:27 - 0:31
    ในขณะที่การประท้วงมักเป็นสิ่งที่
    เลี่ยงไม่ได้ มันมีประสิทธิภาพหรือเปล่า
  • 0:31 - 0:33
    ลองพิจารณาดูอาหรับสปริง
  • 0:33 - 0:35
    ทั่วทั้งตะวันออกกลาง
  • 0:35 - 0:39
    พลเมืองผู้ประท้วง
    สามารถที่จะโค่นล้มอำนาจเผด็จการได้
  • 0:39 - 0:40
    แต่ว่าหลังจากนั้น
  • 0:40 - 0:46
    สูญญากาศมักจะถูกแทนที่
    ด้วยสงครามและความรุนแรงอยู่บ่อย ๆ
  • 0:46 - 0:48
    ผู้ประท้วงสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลง
    ที่เป็นผลบวกที่ยืนยาวได้
  • 0:48 - 0:51
    เมื่อมันตามมาด้วยความพยายาม
    ที่เต็มไปด้วยศรัทธาที่มากพอ ๆ กัน
  • 0:51 - 0:53
    ในการขับเคลื่อนผู้ออกเสียง
  • 0:53 - 0:53
    ในการไปลงคะแนนเลือก
  • 0:53 - 0:55
    ในการพยายามทำความเข้าใจรัฐบาล
  • 0:55 - 0:59
    และในการทำให้มันครอบคลุมมากขึ้น
  • 0:59 - 1:03
    นี่คือสามแนวทางการเปลี่ยน
    ความตระหนักอย่างสันติ ไปเป็นการปฏิบัติ
  • 1:03 - 1:07
    และจากการประท้วงไปเป็น
    พลังทางการเมืองที่ยืนหยัดมั่นคง
  • 1:07 - 1:10
    ประการแรก ขยายกรอบของความเป็นไปได้
  • 1:10 - 1:12
    สอง เลือกการสู้ที่แน่นอน
  • 1:12 - 1:17
    และสาม หาทางเอาชนะแต่เนิ่น ๆ
  • 1:17 - 1:20
    ลองมาเริ่มกัน
    ที่การขยายกรอบความเป็นไปได้
  • 1:20 - 1:23
    บ่อยแค่ไหนที่เราได้ยินคำตอบ
    จากแนวคิดทางการเมืองว่า
  • 1:23 - 1:26
    "นั่นมันคงเป็นไปไม่ได้หรอก"
  • 1:26 - 1:27
    เมื่อคุณได้ยินใครสักคนพูดแบบนั้น
  • 1:27 - 1:32
    พวกเขาพยายามกำหนดขอบเขต
    จินตนาการของพลเมืองอย่างคุณ
  • 1:32 - 1:35
    พลเมืองที่มีพลังพยายามที่จะผลักดัน
    ขอบเขตเหล่านั้นออกไป
  • 1:35 - 1:37
    เพื่อถามว่า แล้วถ้าหากว่า -
  • 1:37 - 1:38
    ถ้าหากว่ามันเป็นไปได้ล่ะ
  • 1:38 - 1:40
    ถ้าหากมีรูปแบบของอำนาจที่มากพอ -
  • 1:40 - 1:43
    พลังจากประชาชน ความคิด เงิน
    แนวคิดของสังคม -
  • 1:43 - 1:46
    ถูกเรียงร้อยเข้าด้วยกัน
    เพื่อทำให้มันเป็นไปได้ล่ะ
  • 1:46 - 1:48
    การถามง่าย ๆ ด้วยคำถามนั้น
  • 1:48 - 1:52
    และการไม่ถือเอาว่าการเมืองแบบนี้
    เป็นทุกสิ่งทุกอย่างที่ทำได้แล้ว
  • 1:52 - 1:56
    เป็นก้าวแรกไปสู่การเปลี่ยนแปลง
    การประท้วงเป็นอำนาจ
  • 1:56 - 2:00
    แต่มันต้องการความมั่นคง
    ว่ามันจะเป็นอย่างไร เช่น
  • 2:00 - 2:03
    รัฐบาลของประเทศเล็ก ๆ
  • 2:03 - 2:07
    หรือ ที่ตรงข้ามกัน ระบบสาธารณสุข
    แบบผู้จ่ายรายเดียวขนาดใหญ่
  • 2:07 - 2:10
    วิธีการรักษาความร่วมมือ
    ต้องรับผิดชอบพฤติกรรมที่ผิด
  • 2:10 - 2:15
    หรือวิธีที่จะปลดปล่อยพวกเขา
    ข้อกำหนดที่มีภาระผูกพันเกินควร
  • 2:15 - 2:20
    มันนำเราสู่แนวทางที่สอง
    ซึ่งก็คือการเลือกการต่อสู้ที่แน่นอน
  • 2:20 - 2:23
    การเมืองทั้งหมดเกี่ยวข้องกับความแตกต่าง
  • 2:23 - 2:26
    พวกเราบางคนคิดว่าชีวิตพลเมืองนั้น
    เป็นนามธรรม
  • 2:26 - 2:30
    เราคิดว่าสิ่งต่างอยู่ในภาวะผ่อนคลาย
    เมื่อเทียบกับสื่งอื่น ๆ
  • 2:30 - 2:34
    พลเมืองที่ทรงพลังกำหนดสิทธิ
    ของความแตกต่างนั้น
  • 2:34 - 2:36
    นั่นไม่ได้หมายความว่า
    มันจะต้องหยาบคาย
  • 2:36 - 2:40
    มันแค่หมายความว่า การคิดที่จะโต้แย้ง
    ในสิ่งที่คุณต้องการตามสิทธิของคุณ
  • 2:40 - 2:45
    เกี่ยวกับเรื่องที่มีความสำคัญ
    ต่อการเปลี่ยนแปลงที่คุณต้องการ
  • 2:45 - 2:50
    นี่เป็นสิ่งที่นักเคลื่อนไหวที่เรียกร้อง
    แรงงานขั้นต่ำ 15 เหรียญในสหรัฐฯ ทำ
  • 2:50 - 2:54
    พวกเขาไม่ได้เสแสร้งว่าเงิน 15 เหรียญ
    จะสามารถจัดการกับความไม่เท่าเทียมได้
  • 2:54 - 2:57
    แต่ด้วยความทะเยอทะยาน
    และเป้าหมายของกรณีพิพาท
  • 2:57 - 3:00
    ซึ่งพวกเขาทำได้เป็นครั้งแรก
    ในซีแอทเทิล และจากนั้นก็ที่อื่น
  • 3:00 - 3:06
    พวกเขาทำให้เกิดการโต้เถียงมากขึ้น
    เกี่ยวกับความยุติธรรมทางเศรษฐกิจและการอยู่ดีกินดี
  • 3:06 - 3:09
    พวกเขาขยายกรอบของความเป็นไปได้
    แนวทางที่หนึ่ง
  • 3:09 - 3:14
    และสร้างสัญลักษณ์ที่ชัดเจน
    แนวทางที่สอง
  • 3:14 - 3:18
    แนวทางที่สามที่สำคัญ คือจากนั้น
    ค้นหาและชนะให้ได้เร็ว
  • 3:18 - 3:22
    การเอาชนะได้แต่เนิ่น ๆ แม้ว่ามัน
    จะไม่เป็นไปได้ตามเป้าหมายสูงสุดที่ตั้งเอาไว้
  • 3:22 - 3:23
    สร้างพลวัตร
  • 3:23 - 3:26
    ซึ่งจะเปลี่ยนสิ่งที่คนคิดว่าเป็นไปได้
  • 3:26 - 3:28
    การเคลื่อนไหวอย่างเป็นปึกแผ่น
  • 3:28 - 3:33
    ซึ่งผู้ใช้แรงงานได้มารวมตัวกัน
    ในสงครามเย็นโปแลนด์ก็เกิดขึ้นในแบบนี้
  • 3:33 - 3:37
    ตอนแรก การประท้วงที่ท่าเรือเกิดขึ้น
    ในปี ค.ศ. 1980 ทำให้เกิดสิทธิ
  • 3:37 - 3:39
    จากนั้น ตลอดทศวรรษต่อมา
  • 3:39 - 3:41
    ความพยายามทั่วประเทศ
    ที่สุดท้ายแล้วทำให้เอาชนะ
  • 3:41 - 3:44
    รัฐบาลคอมมิวนิสต์ในโปแลนด์ได้
  • 3:44 - 3:49
    การได้ชัยชนะแต่เนิ่น ๆ
    ทำให้เกิดผลสะท้อนกลับเชิงบวก
  • 3:49 - 3:51
    การแพร่กระจาย ความเชื่อ
    แรงบันดาลใจ
  • 3:51 - 3:54
    มันต้องการผู้วางนโยบายที่สร้างแรงกระตุ้น
  • 3:54 - 3:57
    โดยใช้สื่อเพื่อเปลี่ยนการเล่าเรื่อง
  • 3:57 - 3:58
    สร้างการอภิปรายขึ้นในสังคม
  • 3:58 - 4:02
    ได้สมาชิกเพื่อนบ้านที่ช่างสงสัย
    ทีละคนสองคน
  • 4:02 - 4:05
    ทั้งหมดนี้ไม่มีอะไรน่าหลงใหล
    เท่ากับการประท้วง
  • 4:05 - 4:08
    แต่นี่คือประวัติศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
    เรียกร้องสิทธิของพลเมืองสหรัฐฯ
  • 4:08 - 4:10
    อิสรภาพของอินเดีย
  • 4:10 - 4:12
    การกำหนดเจตจำนงของตนเองในเช็ก
  • 4:12 - 4:14
    ไม่มีอะไรที่ได้รับชัยชนะอย่างรวดเร็ว
  • 4:14 - 4:18
    ก่อนที่จะมีการดำเนินการที่ยาวนาน
  • 4:18 - 4:21
    คุณไม่จำเป็นต้องเป็นคนพิเศษ
    ที่จะเป็นส่วนหนึ่งของระบบ
  • 4:21 - 4:23
    ที่จะขยายกรอบความเป็นไปได้
  • 4:23 - 4:25
    ที่จะเลือกการต่อสู้ที่แน่นอน
  • 4:25 - 4:28
    หรือคว้าเอาชัยชนะแต่เนิ่น ๆ
  • 4:28 - 4:32
    คุณแค่ต้องเป็นส่วนร่วม
    และใช้ชีวิตอย่างพลเมือง
  • 4:32 - 4:34
    จิตวิญญาณของการประท้วงนั้นทรงพลัง
  • 4:34 - 4:37
    เช่นเดียวกับสิ่งที่เกิดขึ้นหลังจากการประท้วง
  • 4:37 - 4:40
    คุณสามารถเป็นผู้ร่วมสร้าง
    ของสิ่งที่กำลังจะมาถึง
Title:
จะเปลี่ยนการประท้วงให้เป็นการเปลี่ยนแปลงอันทรงพลังได้อย่างไร - อิริค ลิว (Eric Liu)
Description:

ชมบทเรียนแบบเต็มที่: http://ed.ted.com/lessons/how-to-turn-protest-into-powerful-change-eric-liu

เราอยู่กันในยุคของการประท้วง ในมหาวิทยาลัย ที่จตุรัสสาธารณะ บนถนน และในโซเชียลมีเดีย ผู้ประท้วงทั่วโลกกำลังเปลี่ยนสิ่งที่อยู่ในกรอบเดิม ๆ แต่ในขณะที่การประท้วงมักเป็นสิ่งที่เลี่ยงไม่ได้ แต่ว่ามันมีประสิทธิภาพหรือเปล่า อิริค ลิว สรุปสามแนวทางการเปลี่ยนความตระหนักอย่างสันติไปเป็นการปฏิบัติ และจากการประท้วงไปเป็นพลังทางการเมืองที่ยืนหยัดมั่นคง

บทเรียนโดย Eric Liu, แอนิเมชันโดย Sarah Saidan

more » « less
Video Language:
English
Team:
closed TED
Project:
TED-Ed
Duration:
04:57

Thai subtitles

Revisions