Return to Video

สถิติ: ค่าเฉลี่ย

  • 0:01 - 0:03
    ยินดีต้อนรับสู่รายการวิชาสถิติครับ
  • 0:03 - 0:06
    มันคือสิ่งที่ผมอยากทำมาสักพักแล้ว
  • 0:06 - 0:09
    เอาล่ะ, ผมแค่อยากเข้าถึงเนื้อหา
  • 0:09 - 0:12
    และผมพยายามทำตัวอย่างให้มากที่สุด หวังว่า
  • 0:12 - 0:15
    จะให้คุณได้รู้สึกว่าสถิติมันเกี่ยวกับอะไร
  • 0:15 - 0:17
    ที่จริง, เพื่อเริ่มต้น หากคุณไม่คุ้น
  • 0:17 - 0:19
    กับสถิติ -- แม้ว่า, ผมคิดว่าหลายคน
  • 0:19 - 0:21
    น่าจะมีสัญชาตญาณบ้างว่าสถิติคืออะไร
  • 0:22 - 0:27
    และที่สุดแล้ว -- โดยทั่วไป มันก็คือ
  • 0:27 - 0:29
    การเข้าใจข้อมูล
  • 0:29 - 0:31
    และมันแบ่งเป็นประเภทได้กว้างๆ
  • 0:31 - 0:33
    มันมีอยู่ 3 ประเภทค
  • 0:33 - 0:35
    คุณมีแบบพรรณนา (descriptive)
  • 0:35 - 0:39
    สมมุติว่าคุณมีข้อมูลมากมาย แล้วคุณอยากบอกใครสักคน
  • 0:39 - 0:41
    เกี่ยวกับมันโดยไม่ได้บอกข้อมูลทั้งหมด
  • 0:41 - 0:45
    บางทีคุณอาจต้องการตัวเลขบ่งชี้ไม่กี่ตัว
  • 0:45 - 0:48
    ที่แทนข้อมูลทั้งหมดโดยไม่ต้อง
  • 0:48 - 0:49
    บอกข้อมูลทั้งหมดออกไป
  • 0:49 - 0:50
    นั่นคือสถิติเชิงพรรณนา
  • 0:50 - 0:52
    มันยังมีเชิงทำนาย (predictive)
  • 0:52 - 0:53
    ผมจะเริ่มพวกมันเข้าด้วยกันนะ
  • 0:53 - 0:55
    มันมีสถิติเชิงอนุมาน (inferential statistics)
  • 0:58 - 1:01
    นี่คือตอนที่คุณใช้ข้อมูล
  • 1:01 - 1:02
    เพื่อสรุปสิ่งต่างๆ
  • 1:02 - 1:06
    สมมุติว่าคุณสุ่มตัวอย่างข้อมูลจากประชากร --
  • 1:06 - 1:09
    และเราจะพูดถึงกลุ่มตัวอย่าง กับประชากร บ่อยๆ แต่
  • 1:09 - 1:11
    ผมว่าคุณคงพอเข้าใจว่ามันคืออะไร, จริงไหม?
  • 1:11 - 1:14
    ผมสำรวจคน 3 คนที่กำลังลงคะแนน
  • 1:14 - 1:16
    เลือกประธานาธิบดี, แน่นอนผมไม่ได้สำรวจประชากรทั้งหมด
  • 1:16 - 1:18
    ผมสำรวจแค่กลุ่มตัวอย่าง
  • 1:18 - 1:22
    แต่สิ่งที่สถิติเชิงอนุมานทำ ก็คือ ถ้าเรา
  • 1:22 - 1:25
    คิดเลขจากกลุ่มตัวอย่าง, บางทีเราสามารถอนุมาน
  • 1:25 - 1:28
    หรือสรุปเกี่ยวกับประชากรทั้งหมด
  • 1:28 - 1:30
    ทีนี้, เอาล่ะ, นั่นคือภาพกว้างของ
  • 1:30 - 1:31
    สถิติ
  • 1:31 - 1:34
    ลองเข้าไปดูเนื้อในกัน เราจะเริ่ม
  • 1:34 - 1:35
    ต้นด้วยเชิงพรรณนา
  • 1:38 - 1:41
    อย่างแรกคือว่า, ไม่รู้, ผมอยากทำ
  • 1:41 - 1:44
    หรือผมว่า คนส่วนใหญ่อยากทำ เวลาเขา
  • 1:44 - 1:47
    ได้ข้อมูลชุดใหญ่ แล้วมีคนบอกให้บรรยายมัน
  • 1:47 - 1:51
    บางที ผมควรเลือกตัวเลขขึ้นมา ที่
  • 1:51 - 1:54
    เป็นตัวแทนตัวเลขทั้งหมดในชุด
  • 1:54 - 1:57
    หรือตัวเลขที่แทน, ประมาณว่า, แนวโน้มของศูนย์กลาง
  • 1:57 - 2:00
    -- นี่คือคำที่คุณจะพบได้บ่อยในหนังสือสถิติ
  • 2:00 - 2:03
    แนวโน้มเข้าสู่ศูนย์กลางของชุดตัวเลข
  • 2:07 - 2:09
    นี่ยังเรียกว่า ค่าเฉลี่ย ได้ด้วย
  • 2:09 - 2:12
    และผมจะพูดเจาะจงกว่าที่ผม
  • 2:12 - 2:16
    พูดคำว่า "เฉลี่ย" โดยทั่วไป. เวลาผมพูดถึงมันในบริบทนี้
  • 2:16 - 2:20
    มันหมายความว่า ค่าเฉลี่ย เป็นตัวเลข
  • 2:20 - 2:23
    บอกเราถึงแนวโน้มเข้าสู่ศูนย์กลาง
  • 2:23 - 2:25
    หรือบางที คือตัวเลขที่เป็นตัวแทนของข้อมูล
  • 2:25 - 2:27
    และผมรู้ว่ามันฟังดูเป็นนามธรรม แต่
  • 2:27 - 2:29
    ลองทำตัวอย่างกันหน่อย
  • 2:29 - 2:32
    มันมีวิธีหลายอย่างที่คุณสามารถวัด
  • 2:32 - 2:35
    แนวโน้มเข้าสู่ศูนย์กลาง หรือค่าเฉลี่ยของเซตจำนวนได้
  • 2:35 - 2:38
    คุณอาจเคยเห็นมาก่อนแล้ว
  • 2:38 - 2:41
    พวกมันคือค่าเฉลี่ย
  • 2:41 - 2:43
    ที่จรริง, มันมีค่าเฉลี่ยหลายประเภท, แต่เราจะ
  • 2:43 - 2:44
    ใช้แค่ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
  • 2:51 - 2:54
    ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต และบางทีเราจะพูดถึง
  • 2:54 - 2:55
    ค่าเฉลี่ยฮาร์มอนิกสักวันหนึ่ง
  • 2:55 - 3:03
    มันมีค่าเฉลี่ย, ค่ามัธยฐาน และฐานนิยม
  • 3:03 - 3:07
    และถ้าพูดในแง่สถิติแล้ว, พวกนี้ทั้งหมดสามารถ
  • 3:07 - 3:11
    แทนชุดข้อมูล หรือแนวโน้มศูนย์กลางของประชากร
  • 3:11 - 3:13
    หรือแนวโน้มศูนย์กลางของกลุ่มตัวอย่างได้
  • 3:13 - 3:16
    และพวกมันรวมกันแล้ว -- พวกมันทั้งหมด
  • 3:16 - 3:17
    เป็นรูปของค่ากลางอย่างหนึ่ง
  • 3:17 - 3:19
    ผมว่าเวลาเราเห็นตัวอย่าง, เราคง
  • 3:19 - 3:19
    จะเข้าใจมากขึ้น
  • 3:19 - 3:23
    ถ้าพูดถึงในชีวิตประจำวัน, เวลาคนพูดถึงค่าเฉลี่ย, ผมว่า
  • 3:23 - 3:26
    คุณต้องเคยคำนวณค่าเฉลี่ยครั้งหนึ่งในชีวิตแล้ว, พวกมัน
  • 3:26 - 3:29
    มักเป็นค่าเฉลี่ยเลขคณิต
  • 3:29 - 3:30
    โดยทั่วไป เวลามีคนบอกว่า "ลองหาค่าเฉลี่ย
  • 3:30 - 3:33
    ของเลขพวกนี้ดู" พวกเขามักคาดหวังให้คุณ, เขา
  • 3:33 - 3:34
    อยากให้คุณหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
  • 3:34 - 3:36
    เขาไม่อยากให้คุณหาค่ามัธยฐานหรือฐานนิยม
  • 3:36 - 3:39
    แต่ก่อนที่เราไปต่อ, ลองหาก่อนว่า
  • 3:39 - 3:41
    พวกนี้คืออะไร
  • 3:41 - 3:43
    ขอผมตั้งชุดตัวเลขขึ้นมาก่อนนะ
  • 3:43 - 3:46
    สมมุติว่าผมมีเลข 1
  • 3:46 - 3:50
    สมมุติว่าผมีเลข 1 อีกตัว, 2, 3
  • 3:50 - 3:53
    สมมุติว่าผมมี 4
  • 3:53 - 3:55
    ดีแล้ว
  • 3:56 - 3:58
    เราอยากได้ตัวอย่างง่ายๆ
  • 3:58 - 4:03
    ค่าเฉลี่ย หรือค่าเฉลี่ยเลขคณิต อาจเป็นสิ่งที่คุณ
  • 4:03 - 4:06
    คุ้นเคยที่สุดเวลาคนเขาพูดถึงค่าเฉลี่ย
  • 4:06 - 4:08
    มันก็คือ -- คุณบวกเลขทั้งหมดเข้า แล้วคุณ
  • 4:08 - 4:09
    หารด้วยจำนวนตัวเลขที่มี
  • 4:09 - 4:16
    ในกรณีนี้, มันก็คือ 1 บวก 1 บวก 2 บวก 3 บวก 4
  • 4:16 - 4:19
    แล้วคุณก็หารด้วย 1, 2, 3,
  • 4:19 - 4:21
    4, 5
  • 4:21 - 4:22
    ได้อะไร?
  • 4:22 - 4:23
    1 บวก 1 เป็น 2
  • 4:23 - 4:26
    2 บวก 2 เป็น 4
  • 4:26 - 4:28
    4 บวก 3 เป็น 7
  • 4:28 - 4:30
    7 บวก 4 เป็น 22
  • 4:30 - 4:33
    นี่จึงเท่ากับ 11/5
  • 4:33 - 4:33
    นั่นคืออะไร?
  • 4:33 - 4:34
    มันคือ 2 1/5 หรือเปล่า?
  • 4:34 - 4:38
    มันเท่ากับ 2.2
  • 4:38 - 4:40
    แล้วมึคนบอกว่า "เฮ้, รู้ไหม,
  • 4:40 - 4:41
    นี่คือตัวแทนที่ดีของ
  • 4:41 - 4:42
    ชุดข้อมูลนี้เลย
  • 4:42 - 4:45
    นั่นคือตัวเลขที่เลขพวกนี้ทุกตัวอยู่ใกล้
  • 4:45 - 4:47
    จะว่างั้นก็ได้" หรือ 2.2 แทนแนวโน้ม
  • 4:47 - 4:49
    ศูนย์กลางของชุดข้อมูลนี้
  • 4:49 - 4:51
    พูดโดยทั่วไปแล้ว, นั่นคือค่าเฉลี่ย
  • 4:51 - 4:53
    แต่ถ้าเราอาจระบุให้ชัด, นี่
  • 4:53 - 4:55
    คือค่าเฉลี่ยเลขคณิตของชุดตัวเลขนี้
  • 4:55 - 4:57
    แล้วคุณเห็นว่ามันเป็นตัวแทนข้อมูล
  • 4:57 - 4:59
    ถ้าผมไม่อยากให้ชุดตัวเลข 5 ตัวนี้, ผม
  • 4:59 - 5:01
    ก็บอกว่า "อืม, เธอก็รู้, ฉันมีชุดตัวเลข 5 ตัว และ
  • 5:01 - 5:04
    มันมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.2" นี่บอกคุณนิดหน่อยว่า
  • 5:04 - 5:06
    อย่างน้อย, คุณก็รู้, ว่าตัวเลขพวกนี้อยู่แถวไหน
  • 5:06 - 5:09
    เราจะพูดถึงต่อไปว่า คุณจะรู้ว่า
  • 5:09 - 5:12
    เลขพวกนั้นห่าาจากค่าเฉลี่ยแค่ไหนในวิดีโอต่อไป
  • 5:12 - 5:14
    นั่นคือวิธีวัดอย่างหนึ่ง
  • 5:14 - 5:17
    วิธีวัดอีกอย่างหนึ่ง, แทนที่จะเฉลี่ยแบบนี้, คุณ
  • 5:17 - 5:20
    สามารถหาค่าเฉลี่ยได้ด้วยการเรียงลำดับเลข,
  • 5:20 - 5:20
    ซึ่งผมเรียงไว้แล้ว
  • 5:20 - 5:23
    งั้นลองเขียนมันตามลำดับอีกครั้งหนึ่ง
  • 5:23 - 5:27
    1, 1, 2, 3, 4
  • 5:27 - 5:28
    แล้วคุณเอาเลขตรงกลางมา
  • 5:28 - 5:32
    ลองดู, มันมีเลข 1, 2, 3, 4, 5 ตัว
  • 5:32 - 5:34
    เลขตัวกลางจะอยู่ตรงนี้, จริงไหม?
  • 5:34 - 5:35
    เลขตรงกลางคือ 2
  • 5:35 - 5:37
    มันมีเลขสองตัวมากกว่า 2 และมี
  • 5:37 - 5:39
    เลขสองตัวน้อยกว่า 2
  • 5:39 - 5:40
    และนี่เรียกว่ามัธยฐาน (median)
  • 5:40 - 5:42
    มันใช้การคำนวณน้อยมาก
  • 5:42 - 5:43
    คุณแค่ต้องเรียงเลขแค่นั้น
  • 5:43 - 5:46
    แล้วคุณหาเลขอะไรก็ตาม ที่มีจำนวนตัวเลขซึ่งมากกว่า
  • 5:46 - 5:48
    เท่ากับจำนวนตัวเลขซึ่งน้อยกว่า
  • 5:48 - 5:51
    ดังนั้นมัธยฐานของเลขชุดนี้คือ 2
  • 5:51 - 5:53
    และคุณเห็นว่า, ผมหมายถึงว่า, มัน
  • 5:53 - 5:54
    ใกล้กับค่าเฉลี่ยมาก
  • 5:54 - 5:56
    และมันไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
  • 5:56 - 5:59
    ไม่มีค่าเฉลี่ยไหนดีกว่าอีกอัน
  • 5:59 - 6:02
    พวกนั้นเป็แค่วิธีวัดค่ากลางแบบต่างๆ
  • 6:02 - 6:05
    ตรงนี้มันคือมัธยฐาน
  • 6:05 - 6:07
    และผมรู้ว่าคุณอาจคิดว่า "อืม, มันก็ง่าย
  • 6:07 - 6:09
    ถ้าเรามีเลข 5 ตัว
  • 6:09 - 6:12
    แต่ถ้าเรามีเลข 6 ตัวล่ะ?" ถ้าเกิดมันเป็นแบบนี้?
  • 6:12 - 6:14
    ถ้าเกิดนี่คือชุดตัวเลขของเราล่ะ?
  • 6:14 - 6:20
    1, 1, 2, 3 ลองเพิ่ม 4 เข้าไปอีกตัว
  • 6:20 - 6:22
    ทีนี้, มันไม่มีเลขตรงกลาง, จริงไหม?
  • 6:22 - 6:25
    ผมหมายความว่า 2 ไม่มีอยู่ตรงกลาง เพราะมีเลข 2 ตัวที่น้อยกว่า
  • 6:25 - 6:27
    และมีเลข 3 ตัวที่มากกว่า
  • 6:27 - 6:29
    แล้ว 3 ก็ไม่ใช่เลขกลาง เพราะมันมีเลข 3 ตัวที่
  • 6:29 - 6:32
    มากกว่า -- ขอโทษที มันมี 2 ตัวที่มากกว่า
  • 6:32 - 6:33
    และ 3 ตัวที่น้อยกว่า
  • 6:33 - 6:34
    มันจึงไม่มีเลขตรงกลาง
  • 6:34 - 6:36
    เมื่อคุณชุดที่มีตัวเลขเป็นจำนวนคู่ และมีคนบอก
  • 6:36 - 6:38
    ให้คุณหาค่ามัธยฐาน, สิ่งที่คุณทำคือคุณหาเลขตรงกลาง
  • 6:38 - 6:44
    สองตัว แล้วคุณหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
  • 6:44 - 6:45
    ของเลขสองตัวนั้น
  • 6:45 - 6:51
    ในกรณีนี้ เซตนนี้, มัธยฐานจะเป็น 2.5
  • 6:51 - 6:52
    ใช้ได้
  • 6:52 - 6:54
    ลองเก็บนี้ไว้ก่อน เพราะผมอยากเปรียบเทียบ
  • 6:54 - 6:57
    ค่ามัธยฐาน ค่าเฉลี่ย และฐานนิยม
  • 6:57 - 6:58
    ของเลขชุดเดียวกัน
  • 6:58 - 7:00
    แต่มันเป็นเรื่องรู้ไว้ก็ดี เพราะบางครั้ง
  • 7:00 - 7:01
    มันก็ทำใหัสับสนได้
  • 7:01 - 7:04
    เจ้านิยามพวกนี้
  • 7:04 - 7:06
    นี่คือเครื่องมือทางคณิตศาสตร์
  • 7:06 - 7:08
    ที่ช่วยเรามองตัวเลขพวกนี้
  • 7:08 - 7:12
    มันไม่ใช่ว่า วันหนึ่งมีคนเห็นสูตรพวกนี้
  • 7:12 - 7:14
    บนดวงอาทิตย์ แล้วบอกว่า "โอ้, จักรวาล
  • 7:14 - 7:17
    บอกเราว่าค่าเฉลี่ยควรคิดแบบนี้"
  • 7:17 - 7:20
    พวกนี้คือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อเข้าใจ
  • 7:20 - 7:22
    ข้อมูลขนาดใหญ่
  • 7:22 - 7:25
    นี่ไม่ใช่ข้อมูลขนาดใหญ่, แต่แทนที่จะเป็นเลขห้าตัว, ถ้า
  • 7:25 - 7:27
    เรามีตัวเลข 5 ล้านตัว, คุณคงนึกออกว่าคุณคง
  • 7:27 - 7:29
    ไม่อยากคิดถึงเลขไปทีละตัวแน่ๆ
  • 7:29 - 7:32
    เอาล่ะ, ก่อนที่ผมจะพูดมากไป, ขอผมบอกคุณก่อน
  • 7:32 - 7:33
    ว่าฐานนิยมคืออะไร
  • 7:33 - 7:36
    ฐานนิยม ที่จริงแล้ว, เป็นอันที่ผมว่า
  • 7:36 - 7:40
    คนส่วนใหญ่มักลืม หรือไม่เคยเรียน หรือเวลาเขาเจอมัน
  • 7:40 - 7:42
    ในข้อสอบ, มันมักทำให้งง, คนพวกนี้บอกว่า "โอ้,
  • 7:42 - 7:45
    มันฟังดูยากมาก" แต่ในแง่หนึ่ง, มันเป็นตัววัด
  • 7:45 - 7:49
    แนวโน้มของศูนย์กลาง หรือค่ากลางที่ง่ายที่สุดอันหนึ่ง
  • 7:49 - 7:54
    ฐานนิยมก็แค่ตัวเลขที่ปรากฏมากที่สุดในชุด
  • 7:54 - 7:56
    ในตัวอย่างนี้, มันมี 1 สองตัวและอย่างอื่นอย่างละ
  • 7:56 - 7:58
    หนึ่งตัว, จริงไหม?
  • 7:58 - 8:00
    ฐานนิยมตรงนี้จึงเป็น 1
  • 8:00 - 8:03
    ฐานนิยมคือเลขที่มีมากที่สุด
  • 8:03 - 8:05
    แล้วคุณอาจถามว่า "โว้ เฮ้ ซาล,
  • 8:05 - 8:06
    แล้วถ้านี่คือชุดข้อมูลเราล่ะ?
  • 8:06 - 8:12
    1, 1, 2, 3, 4, 4" ตรงนี้ผมมี 1 สองตัว และผมมี 4 สองตัว
  • 8:12 - 8:14
    และนี่คือที่ที่ฐานนิยมเริ่มไม่ตรงไปตรงมา เพราะ
  • 8:14 - 8:18
    ตัวใดตัวหนึ่งล้วนเป็นฐานนิยมได้
  • 8:18 - 8:20
    คุณอาจบอกว่าฐานนิยมของข้อมูลนี้ คือ 1 หรือ
  • 8:20 - 8:23
    ฐานนิยมของอันนี้คือ 4 แล้วมันก็เริ่มกำกวม
  • 8:23 - 8:25
    และคุณอาจถาม
  • 8:25 - 8:26
    คนที่ถามคุณอีกทีเพื่อความชัดเจน
  • 8:26 - 8:29
    ส่วนใหญ่ในข้อสอบ เวลาเขาถามคุณ, มันมัก
  • 8:29 - 8:29
    ไม่มีความกำกวมอย่างนี้
  • 8:29 - 8:33
    มันจะมีตัวเลขในชุดที่ปรากฎบ่อยที่สุดเสมอ
  • 8:33 - 8:36
    ทีนี้, คุณอาจสงสัยว่า, โอ้, คุณก็รู้, ทำไมอันเดียว
  • 8:36 - 8:37
    ถึงไม่ดีพอ?
  • 8:37 - 8:38
    คุณก็รู้ ทำไมเราถึงเรียนค่าเฉลี่ย, ทำไมเราไม่
  • 8:38 - 8:40
    ใช่แต่ค่าเฉลี่ย?
  • 8:40 - 8:43
    หรือทำไมเราถึงไม่ใช่ค่าเฉลี่ยเลขคณิตตลอด?
  • 8:43 - 8:45
    แล้วมัธยฐานกับฐานนิยมมีดีอะไร?
  • 8:45 - 8:48
    ทีนี้, ผมจะพยายามยกตัวอย่าง แล้วให้คุณดูว่า
  • 8:48 - 8:51
    มันช่วยให้คุณเห็นอะไรบ้าง
  • 8:51 - 8:52
    แล้วคุณค่อยคิดต่อไป
  • 8:52 - 8:54
    สมมุติว่า ผมมีชุดตัวเลข
  • 8:54 - 9:04
    3, 3, 3, 3, 3 และ, ไม่รู้สิ 100
  • 9:04 - 9:09
    ค่าเฉลี่ยเลขคณิตตรงนี้คือะไร?
  • 9:09 - 9:12
    ผมมี 1, 2, 3, 4, 5 มี 3 ทั้งหมด 5 ตัว, กับ 100
  • 9:12 - 9:17
    นี่ก็คือ 115 หารด้วย 6, จริงไหม?
  • 9:17 - 9:20
    ผมมีเลข 1, 2, 3, 4, 5, 6 ตัว
  • 9:20 - 9:22
    115 ก็แค่ผลบวกทั้งหมดของมัน
  • 9:22 - 9:27
    นั่นจึงเท่ากับ -- 6 หาร 115 ได้กี่ครั้ง?
  • 9:27 - 9:29
    6 ไปหารมันได้ 1 ครั้ง
  • 9:29 - 9:31
    1 คูณ 6 ได้ 6
  • 9:31 - 9:32
    55 หารได้ 9 ครั้ง
  • 9:32 - 9:34
    9 คูณ 6 เป็น 54
  • 9:34 - 9:36
    มันจึงเท่ากับ 19 1/6
  • 9:37 - 9:38
    ใช้ได้
  • 9:39 - 9:41
    ผมแค่บวกเลขทั้งหมด แล้วหารด้วย
  • 9:41 - 9:42
    จำนวนที่มี
  • 9:42 - 9:45
    แต่คำถามของผมคือว่า, นี่คือตัวแทน
  • 9:45 - 9:46
    ของข้อมูลที่ดีหรือเปล่า?
  • 9:46 - 9:48
    ผมหมายความว่า, ผมมีเลข 3 เต็มไปหมด แล้วผมมี 100
  • 9:48 - 9:51
    ในทันใด, เรากำลังบอกว่าแนวโน้มสู่ศูนย์กลาง คือ 19 1/6
  • 9:51 - 9:54
    ผมหมายความว่า 19 1/6 ไม่ได้บ่งชี้
  • 9:54 - 9:54
    ถึงชุดตัวเลขเท่าไหร่
  • 9:54 - 9:56
    ผมหมายความว่า, บางที, มันขึ้นอยู่กับการนำไปใช้, แต่มันดู
  • 9:56 - 9:58
    เลยออกไป, จริงไหม?
  • 9:58 - 10:00
    ผมหมายถึงว่า, สัญชาตญาณผมบอกว่า แนวโน้มของศูนย์กลาง
  • 10:00 - 10:03
    ควรอยู่ใกล้ 3 เพราะมันมี 3 เป็นจำนวนมาก
  • 10:03 - 10:07
    แล้วมัธยฐานบอกเราว่าอะไร?
  • 10:07 - 10:10
    ผมเขียนเลขนี้เป็นลำดับอยู่แล้ว, จริงไหม?
  • 10:10 - 10:11
    ถ้าผมให้เลขคุณมาเป็นลำดับ, คุณอยากใส่มัน
  • 10:11 - 10:13
    ตามลำดับ แล้วคุณถามว่าเลขตรงกลางคืออะไร?
  • 10:13 - 10:16
    ลองดู, มีเลขตรงกลางสองตัว, เนื่องจาก
  • 10:16 - 10:18
    เป็นจำนวนคู่, ได้ 3 กับ 3
  • 10:18 - 10:21
    ถ้าผมหาค่าเฉลี่ยของ 3 กับ 3 -- หรือผมควร
  • 10:21 - 10:22
    ใช้คำให้เจาะจงกว่านี้
  • 10:22 - 10:27
    ถ้าผมหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ 3 กับ 3, ผมจะได้ 3
  • 10:27 - 10:30
    นี่คือวิธีการวัดแนวโน้ม
  • 10:30 - 10:34
    ของศูนย์กลางหรือค่าเฉลี่ยชุดตัวเลขที่ดีกว่า, จริงไหม?
  • 10:34 - 10:38
    ที่สุดแล้ว, สิ่งที่มันทำ เวลาหามัธยฐาน, คือมันไม่ได้
  • 10:38 - 10:41
    ผลกระทบจากเลขที่มีค่ามาก
  • 10:41 - 10:42
    ซึ่งต่างจากตัวอื่นอยู่มาก
  • 10:42 - 10:44
    ในสถิติ เราเรียกมันว่า ค่าผิดปกติ (outlier)
  • 10:44 - 10:47
    ตัวเลขที่, คุณก็รู้, ถ้าคุณพูดถึงค่าเฉลี่ย
  • 10:47 - 10:52
    ราคาบ้าน, บางทีบ้านทุกหลังในเมืองราคา $100,000 แล้ว
  • 10:52 - 10:54
    มันมีบ้านหลังหนึ่งราคา $1 ล้านล้าน
  • 10:54 - 10:56
    แล้วถ้ามีคนถามคุณว่าราคาบ้านโดยเฉลี่ยเป็นเท่าไหร่, ผม
  • 10:56 - 10:58
    ไม่รู้สิ, $1 ล้านเหรียญ, คุณอาจเข้าใจ
  • 10:58 - 11:00
    ภาพของเมืองนั้นผิดไป
  • 11:00 - 11:04
    แต่มัธยฐานของราคาบ้านอาจเป็น $100,000 แล้วคุณ
  • 11:04 - 11:06
    ก็เข้าใจได้ดีขึ้นว่า ราคาบ้านในเมืองเป็นอย่างไรกันแน่
  • 11:06 - 11:09
    เช่นเดียวกัน, ค่ามัธยฐานนี่, ช่วยให้คุณเข้าใจ
  • 11:09 - 11:12
    ว่าตัวเลขในเซตเป็นอย่างไร
  • 11:12 - 11:16
    เพราะค่าเฉลี่ยเลขคณิตนั้นบิดเบี้ยวได้, จากสิ่ง
  • 11:16 - 11:18
    ที่เขาเรียกกันว่า ค่าผิดปกติ
  • 11:18 - 11:20
    และการระบุค่าผิดปกตินี้, มันเป็น
  • 11:20 - 11:22
    หนึ่งในเรื่องที่นักสถิติจะบอกว่า, อืม,
  • 11:22 - 11:23
    เห็นแล้วก็จะรู้เอง
  • 11:23 - 11:25
    มันไม่มีนิยามชัดเจน แต่มันมัก
  • 11:25 - 11:28
    จะเป็นตัวเลขที่โดดออกมา และบางครั้ง
  • 11:28 - 11:31
    มันมาจาก, คุณก็รู้, ความผิดพลาดจากกรวัดหรืออะไรพวกนั้น
  • 11:31 - 11:33
    แล้วสุดท้าย, ค่าฐานนิยม
  • 11:33 - 11:35
    เลขที่มีมากที่สุดในชุดนี้คืออะไร?
  • 11:35 - 11:39
    มันมี 3 ห้าตัว, แล้วก็มี 100
  • 11:39 - 11:41
    ดังนั้นเลขที่ปรากฏมากสุด, เหมือนเดิม, มันคือ 3
  • 11:41 - 11:45
    ในกรรีนี้, เวลาคุณมีค่าผิดปกติ, มัธยฐานกับ
  • 11:45 - 11:47
    ฐานนิยมมักจะเป็น, คุณก็รู้, บางทีมัน
  • 11:47 - 11:51
    ช่วยบอกนิดหน่อยว่า
  • 11:51 - 11:52
    ตัวนี้เหล่านี้แทนอะไร
  • 11:52 - 11:53
    บางทีนี่อาจเป็นความผิดพลาดจากการวัด
  • 11:53 - 11:54
    แต่ผมไม่รู้, เรายังไม่รู้
  • 11:54 - 11:55
    ว่าพวกมันแทนอะไร
  • 11:55 - 11:58
    ถ้านี่คือราคาบ้าน, ผมอาจบอกว่า พวกนี้
  • 11:58 - 12:01
    เป็นตัววัดว่าราคาบ้านหลังหนึ่ง
  • 12:01 - 12:03
    ในพื้นที่นั้นราคาเท่าไหร่
  • 12:03 - 12:06
    แต่ถ้านี่เป็นอย่างอื่น, ถ้านี่เป็นคะแนนสอบ,
  • 12:06 - 12:08
    บางที, คุณก็รู้, บางทีมีเด็กคนหนึ่งในห้อง --
  • 12:08 - 12:10
    คนหนึ่งใน 6 คน, ทำได้ดีมาก และคนที่เหลือ
  • 12:10 - 12:10
    ไม่ได้เรียนเลย
  • 12:10 - 12:14
    นี่เป็นตัวบอก, ว่านักเรียน
  • 12:14 - 12:15
    ในชั้นทำได้ดีแค่ไหนโดยเฉลี่ย
  • 12:15 - 12:18
    เอาล่ะ, ผมพูดจบแล้ว
  • 12:18 - 12:20
    และผมแนะนำให้คุณลองเล่นกับตัวเลขเยอะๆ แล้ว
  • 12:20 - 12:21
    คิดตามหลักการด้วยตัวเอง
  • 12:21 - 12:25
    ในวิดีโอหน้า, เราจะมาสำรวจสถิติ
  • 12:25 - 12:25
    แบบพรรรณนากันต่อ
  • 12:25 - 12:28
    แทนที่จะพูดถึงแนวโน้มสู่ศูนย์กลาง, เราะจะพูด
  • 12:28 - 12:30
    ถึงว่า ข้อมูลกระจายตัวห่างจากแนวโน้ม
  • 12:30 - 12:32
    ของศูนย์กลางแค่ไหน
  • 12:32 - 12:33
    แล้วพบกันใหม่ในวิดีโอหน้าครับ
Title:
สถิติ: ค่าเฉลี่ย
Description:

สถิติเชิงพรรณนา และแนวโน้มของศูนย์กลางเบื้องต้น. วิธีการวัดค่ากลางของข้อมูล: ค่าเฉลี่ย, มัธยฐาน และฐานนิยม

more » « less
Video Language:
English
Duration:
12:35

Thai subtitles

Revisions