Return to Video

การแนะนำ เครื่องแทบเบลต ที่มาพร้อมกับ กูเกิลเพลย์เพื่อการศึกษา

  • 0:00 - 0:04
    ( เสียงดนตรีเริ่มขี้น..... )
  • 0:04 - 0:07
    นี่คือการศึกษาผ่าการใช้เครื่องหน้าจอ ทัชสกรีน
  • 0:07 - 0:09
    มันแตกต่างจากห้องเรียนที่พวกเราโตมาอย่างสิ้นเชิง
  • 0:09 - 0:12
    มันคืออนาคต
  • 0:12 - 0:14
    " ผมรักงานเป็นผู้ดูแลของเขตนี้ "
  • 0:14 - 0:19
    เราได้ทำงานกับเด็กๆที่น่ารัก 7,400 คน เด็กเหล่านี้สามารถทำสื่งน่าทึ่งได้แน่นอน
  • 0:19 - 0:23
    ( ดนตรีบรรเลงต่อ..... )
  • 0:23 - 0:27
    เด็กทุกคนในเขตฮิลล์โบรจ์ ตั้งแต่ชั้นอนุบาล ถึง ป.4 มีเครื่องแทบเบลตของตัวเอง
  • 0:27 - 0:31
    เราตกลงกัน ที่จะดึงพวกเขาออกมาตอนกลางเทอม แบบที่ไม่มีใครกล้าทำมาก่อน
  • 0:31 - 0:36
    และ ไม่น่าเชื่อเลย ว่ามันช่างเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ราบรื่น และเป็นการเปิดตัวที่ง่ายจริงๆ
  • 0:36 - 0:38
    " ฉันน่ะเหรอ เก่งเทคฯขั้นเทพ!??? "
  • 0:38 - 0:39
    ไม่ใช่หรอกค่ะ......
  • 0:39 - 0:40
    ( แนนซี่ หัวเราะกิ๊ก)
  • 0:40 - 0:43
    ฉันแค่เป็นคนที่ขอบเรื่องเทคโนโลยีมาก เลยตื่นเต้นเหลือเกิน
  • 0:43 - 0:47
    เราทุกคนได้รับแจกแทบเบลต และ ได้เริ่มต้นกันจากตรงนั้น
  • 0:47 - 0:50
    มันลามไปเร็วมากเหมือนไฟป่า พวกเขาต่างควักมันออกมา และ
  • 0:50 - 0:53
    พยามหาวิธีที่จะใช้งานมัน และ โดยมีเด็กๆที่คอยโชว์ วิธีใช้ ด้วย
  • 0:53 - 0:55
    เธอแค่ " กดมัน" และ เปิดออกมา... เห็นไม๊.....
  • 0:55 - 0:59
    ( เสียงกระดิ่ง ดังขึ้น ) เวลาที่เด็กๆมีแทบเบลตอยู่ในมือ
  • 0:59 - 1:01
    พวกเขาจะหมกมุ่นกับมันได้นาน มากขึ้น...
  • 1:01 - 1:04
    สิ่งต่างๆรอบตัวได้เปลี่ยนการสอนของฉันไปสิ้น
  • 1:04 - 1:07
    เอาล่ะ นักเรียนจะต้องเลือกแอพฯแผนที่ ที่อยากจะฝึกใช้ต้วยตัวเอง.. โอเค?
  • 1:07 - 1:11
    โดยเข้าไปที่ ร้านกูเกิลเพลย์ เพื่อการศึกษา ซึ่งทำได้ง่ายมาก มันจะถามให้ฉันส่ง
  • 1:11 - 1:13
    แอพฯอะไรก็ได้ที่เลือกแล้ว ไปให้กับทุกคนในกลุ่ม
  • 1:13 - 1:16
    จากนั้น เราทุกคนก็มีแอพฯแผนที่ ตรงนี้ ...หรือ เลื่อนหน้าจอมาตรงนี้ก็ได้
  • 1:16 - 1:19
    แอพฯที่เหมาะกับด้านสังคมศึกษา และเจอแอพฯสำหรับวิขาวิทยาศาสตร์
  • 1:19 - 1:24
    ฉันเรียนวิธีนับเงิน วิธีสะกดคำสิ่งต่างๆ มันจะช่วยฉันให้อ่านหนังสือได้
  • 1:24 - 1:29
    คุณจะเห็นว่า มีเด็กบางคนกำลังยุ่งกับเรื่องตัวเลข บางคนอ่านหนังสืออย่างติดพัน ซึ่งคุณครู ก็ได้รับรู้ข้อมูลพวกนี้ไปด้วยตลอด
  • 1:29 - 1:32
    คำตอบคืออะไรคะเด็กๆ?
  • 1:32 - 1:34
    (เด็กๆตอบ) 70! ( ครูย้ำ ) 70 เก่งมากจ้ะ
  • 1:34 - 1:38
    ให้ทุกคนลูบหลังของตัวเองนะคะ พวกหนูทำได้ดึมากๆๆ
  • 1:38 - 1:42
    (เสียงเด็กๆ จ้อกแจ้กๆ) สิ่งที่น่าประทับใจที่สุดอย่างนึง คือ การออกคำสั่งให้เด็กคนเดียวทำ
  • 1:42 - 1:45
    ".. เรื่องนี้... หนูทำได้ดี เก่งจ้ะ"
  • 1:45 - 1:50
    ในห้องวันนี้ ตอนช่วงการอ่านผ่านแอพฯ นร.ไม่รู้เลยว่า ตนอ่านหนังสือด้วยระดับความยากง่ายที่ต่างกันกับเพื่อนๆ
  • 1:50 - 1:54
    ( เด็กๆอ่านจากแทบเบลต) ดังนั้น ฉันสามารถกำหนดให้เด็กคนนี้อ่านเฉพาะจุดที่ต้องการโดยสั่งเขาคนเดียวได้ และนั่น
  • 1:54 - 2:00
    เป็นสิ่งสุดอัศจรรย์ของฉันค่ะ. มาลองแข่งกัน ดูซิว่าคุณจะแก้ปัญหาได้ก่อนฉันไหม
  • 2:00 - 2:05
    เด็กๆชอบมาอวดสิ่งต่างๆ และ คนที่ทำได้ก็จะคอยช่วยเหลือคนที่ยังดิ้นรนกับมันอยู่
  • 2:05 - 2:07
    พวกเด็กๆกลายเป็นหุ้นส่วนกันในห้องเรียน
  • 2:07 - 2:11
    โอเค... เปิดเครื่องแทบเบลตได้จัะ.....
  • 2:11 - 2:15
    นี่ไม่ใช่บทเรียนแสนวิเศษอีกต่อไป มันเป็นแค่ดินสอแท่งใหม่ กระดาษแผ่นใหม่ เป็นเพียงหนังสือเล่มใหม่
  • 2:15 - 2:23
    นักเรียนเหล่านี้ จะได้เรียนทุกเวลา ทุกที่ที่ต้องการ เมื่อไหร่ก็ตาม ที่เขาสะดวก
  • 2:23 - 2:28
    การศึกษาที่เกิดขึ้นได้ทุกที่ ตลอดเวลา นี่แหล่ะคือ สิ่งที่เป็นความฝันของครู.... ดังนั้น
  • 2:28 - 2:34
    สิ่งมหัศจรรย์บางอย่างกำลังจะก่อร่างขึ้นในห้องเรียนหลายแห่ง
  • 2:34 - 2:38
    ( กูเกิลเพลย์ เพื่อการศึกษา)
Title:
การแนะนำ เครื่องแทบเบลต ที่มาพร้อมกับ กูเกิลเพลย์เพื่อการศึกษา
Description:

โรงเรียนในเขตฮิลล์โบโรจ์ รัฐนิวเจอร์ซี่ เป็นโรงเรียนแห่งแรกๆ ที่ได้ทดลองใช้เครื่องแทบเบลตยี่ห้อ Nexus 7 ที่มาพร้อมกับ กูเกิลเพลย์ เพื่อการศึกษา. มาดู ความแตกต่างที่มันจะทำให้เกิดขึ้นแก่ นักเรียน ครู และ เจ้าหน้าที่จัดการเหล่านี้กัน. หาขัอมูลเพิ่มเติม ได้ที่ http://google.com/edu/tablets

more » « less
Video Language:
English
Team:
Captions Requested
Duration:
02:40

Thai subtitles

Revisions Compare revisions

  • Revision 2 Edited (legacy editor)
    Duangpenh Wattanaphradorn
  • Revision 1 Edited (legacy editor)
    Duangpenh Wattanaphradorn