Problem connecting to Twitter. Please try again.
Problem connecting to Twitter. Please try again.
Problem connecting to Twitter. Please try again.
Problem connecting to Twitter. Please try again.
Problem connecting to Twitter. Please try again.

Return to Video

คำใหม่ที่สวยงาม บอกความคลุมเครือของอารมณ์

  • 0:01 - 0:05
    วันนี้ผมอยากพูดเกี่ยวกับ
    ความหมายของคำต่างๆ
  • 0:05 - 0:06
    ว่าพวกเราให้คำนิยามว่าอะไร
  • 0:06 - 0:08
    และคำเหล่านั้น สะท้อน
  • 0:08 - 0:09
    ความเป็นเราได้อย่างไร
  • 0:09 - 0:13
    ภาษาอังกฤษเป็นภาษา
    ที่อาศัยภาษาอื่น
  • 0:13 - 0:15
    ผมชอบภาษาอังกฤษ
    และผมดีใจที่ผมพูดภาษานี้
  • 0:15 - 0:17
    แต่ก็ยังมีช่องโหว่มากมาย
  • 0:18 - 0:21
    ในภาษากรีก มีคำ ๆ หนึ่ง
    lachesism (ลา-เค-อิ-ซึม)
  • 0:21 - 0:24
    ซึ่งแปลว่า ภาวะกระหายต่อความหายนะ
  • 0:25 - 0:28
    แบบว่า เมื่อคุณเห็น
    ฝนฝ้าคะนองอยู่ที่เส้นขอบฟ้า
  • 0:28 - 0:31
    แต่พอรู้ตัวอีกทีคุณก็อยู่ในพายุซะแล้ว
  • 0:32 - 0:34
    ภาษาจีนแมนดาลิน มีคำว่า yù yī (โย่ว ยื่อ)
  • 0:34 - 0:36
    ผมอาจออกเสียงไม่ถูกต้องนะครับ
  • 0:36 - 0:40
    คำนี้แปลว่า ความต้องการ
    ที่จะรู้สึกอย่างลึกซึ้งอีกครั้ง
  • 0:40 - 0:42
    ในแบบเดียวกับที่คุณทำตอนเด็ก
  • 0:44 - 0:47
    ภาษาโปแลนด์ มีคำว่า jouska (เวอซุสกา)
  • 0:47 - 0:50
    แปลว่า บทสนทนาสมมติ
  • 0:50 - 0:53
    ที่สร้างขึ้นในหัวของคุณ
  • 0:54 - 0:58
    และสุดท้าย ในภาษาเยอรมัน
    และแน่นอน ในภาษานี้
  • 0:58 - 1:00
    มีคำว่า zielschmerz (ซีลชเมิร์ส)
  • 1:00 - 1:04
    แปลว่า ความหวาดหวั่นในสิ่งที่ต้องการ
  • 1:04 - 1:08
    (เสียงหัวเราะ)
  • 1:08 - 1:10
    ที่สุดของการเติมเต็มความฝันชั่วชีวิต
  • 1:12 - 1:15
    ผมเองเป็นคนเยอรมัน
    ผมจึงรู้ลึกซึ้งดีว่ามันรู้สึกยังไง
  • 1:15 - 1:18
    ปัจจุบัน ผมไม่แน่ใจว่า
    จะใช้คำเหล่านี้
  • 1:18 - 1:19
    ในชีวิตประจำได้อย่างไร
  • 1:19 - 1:22
    แต่ผมก็ดีใจที่มีคำเหล่านี้
  • 1:22 - 1:25
    แต่เหตุผลเดียวที่พวกมันคงอยู่
    คือผมสร้างพวกมันขึ้น
  • 1:25 - 1:29
    ผมเป็นผู้เขียนหนังสือ "The Dictionary
    of Obscure Sorrows"
  • 1:29 - 1:32
    หนังสือที่ผมใช้เวลา
    7 ปีที่ผ่านมาในการเขียน
  • 1:32 - 1:34
    และจุดมุ่งหมายของโครงการนี้
  • 1:34 - 1:39
    คือการตามหาช่องว่าง
    ของอารมณ์ในภาษา
  • 1:39 - 1:41
    และเติมเต็มความหมายมัน
  • 1:41 - 1:44
    เรามีการพูดถึงบาปน้อยๆ
    ของคน
  • 1:45 - 1:47
    และความประหลาดของข้อจำกัดคน
  • 1:47 - 1:51
    ที่พวกเรารู้สึกได้ แต่อาจไม่คิด
    จะพูดออกมา
  • 1:51 - 1:54
    เพราะเราไม่มีคำสำหรับสิ่งนั้น
  • 1:54 - 1:56
    ประมาณครึ่งทางของโครงการนี้
  • 1:56 - 1:58
    ผมให้นิยามคำว่า sonder (ซอนเดอร์)
  • 1:58 - 2:01
    ความคิดที่ว่า เราต่างคิดว่าตัวเอง
    เป็นตัวแสดงหลัก
  • 2:01 - 2:04
    และคนอื่นเป็นเพียงตัวประกอบ
  • 2:04 - 2:07
    แต่ในความเป็นจริงแล้ว
    พวกเราต่างเป็นตัวละครเอกกันทั้งนั้น
  • 2:07 - 2:10
    และตัวคุณเองก็เป็นตัวประกอบใน
    ชีวิตใครบางคนด้วย
  • 2:11 - 2:14
    หลังจากหนังสือของผมวางแผงไม่นาน
  • 2:14 - 2:16
    ผมก็ได้รับเสียงตอบรับมากมาย
  • 2:16 - 2:21
    บ้างพูดว่า ขอบคุณที่ผมช่วย
    อธิบายบางอย่างที่รู้สึกมาตลอดชีวิต
  • 2:21 - 2:24
    แต่ไม่มีคำไหนใช้แทนคำนั้นได้
  • 2:24 - 2:25
    มันช่วยให้พวกเขารู้สึกโดดเดี่ยวน้อยลง
  • 2:26 - 2:28
    นี่คือพลังของคำต่างๆ
  • 2:29 - 2:32
    ที่ทำให้เรารู้สึกโดดเดี่ยวน้อยลง
  • 2:32 - 2:34
    และหลังจากนั้นอีกไม่นาน
  • 2:34 - 2:36
    ที่ผมเริ่มสังเกตคำว่า ซอนเดอร์
  • 2:36 - 2:40
    ได้ถูกใช้อย่างจริงจัง
    ในบทสนทนาบนโลกออนไลน์
  • 2:40 - 2:43
    และหลังจากนั้นผมก็สังเกต
  • 2:43 - 2:47
    ผมได้ยินบทสนทนาข้างตัวผม
  • 2:47 - 2:49
    ไม่รู้สึกเป็นคนแปลกหน้า
    มากไปกว่าการได้สร้างคำๆหนึ่ง
  • 2:49 - 2:53
    แล้วเห็นว่า มันมีความหมายในตัวมันเอง
  • 2:54 - 2:56
    ผมยังหาคำที่ตรงกับคำนี้ไม่ได้
    แต่เดี๋ยวผมคงมี
  • 2:56 - 2:57
    (เสียงหัวเราะ)
  • 2:57 - 2:58
    ผมพยายามอยู่
  • 3:00 - 3:02
    ผมเริ่มคิดว่า อะไร
    ที่ทำให้คำเป็นจริงขึ้นมา
  • 3:04 - 3:05
    เพราะคนถามผมงั้นเหรอ
  • 3:05 - 3:07
    โดยส่วนใหญ่คนมักจะถามผมว่า
  • 3:07 - 3:11
    คำเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นมาหรือเปล่า
    ฉันไม่เข้าใจมันเลย
  • 3:11 - 3:13
    แล้วผมก็ไม่รู้ว่าจะบอกพวกเขาอย่างไร
  • 3:13 - 3:15
    เพราะเมื่อสำรวจว่ามีการเริ่มใช้
  • 3:15 - 3:17
    ผมเป็นใครกันที่จะบอกว่าคำเหล่านี้
    ว่าจริงหรือไม่จริง
  • 3:18 - 3:22
    ผมเลยรู้สึกเหมือนเป็นสตีฟ จ๊อบ
    ที่ได้อธิบายทางสว่างของเขา
  • 3:22 - 3:26
    เมื่อเขาตระหนักได้ว่าเราส่วนใหญ่
    สิ่งที่เราผ่านไปในแต่ละวันนั้น
  • 3:26 - 3:29
    พวกเราพยายามหลีกเลี่ยง
    การกระแทกกับกำแพงมากไป
  • 3:29 - 3:32
    แล้วพยายามไหลไปตามน้ำ
  • 3:32 - 3:34
    แต่เมื่อคุณได้รู้ว่า
  • 3:36 - 3:40
    คนที่สร้างโลกใบนี้ขึ้น
    คือคนที่ไม่ได้ฉลาดไปกว่าคุณเลย
  • 3:40 - 3:42
    คุณสามารถเอื้อม
    และสัมผัสกำแพงนั้นได้
  • 3:42 - 3:44
    หรือแม้แต่เอามือทะลุผ่านได้
  • 3:44 - 3:46
    แล้วรู้สึกถึงพลังในการเปลี่ยนแปลง
  • 3:47 - 3:51
    และเมื่อคนถามผมว่า
    คำเหล่านั้นมีจริงไหม
  • 3:51 - 3:53
    ผมมีคำตอบมากมายให้ลองตอบ
  • 3:53 - 3:55
    บางคำตอบก็เข้าใจได้
    บางคำตอบก็ไม่ใช่
  • 3:55 - 3:57
    แต่คำตอบหนึ่งที่ผมพยายามบอกไปคือ
  • 3:57 - 4:00
    คำๆหนึ่งจะมีจริงได้
    ถ้าคุณอยากให้มันเป็นจริง
  • 4:00 - 4:04
    สิ่งที่ทำให้คำนี้เป็นจริงได้
    เพราะคนนั่นแหละที่อยากให้มันเป็นจริง
  • 4:04 - 4:06
    (เสียงหัวเราะ)
  • 4:06 - 4:08
    มันเกิดขึ้นตลอดเวลา
    ในวิทยาเขตต่างๆของมหาลัย
  • 4:08 - 4:10
    เรียกว่า เส้นทางที่ปรารถนา
  • 4:10 - 4:11
    (เสียงหัวเราะ)
  • 4:11 - 4:13
    จากนั้นผมก็ได้ตัดสินใจ
    ว่าสิ่งที่คนต้องการถามจริงๆ
  • 4:13 - 4:16
    คือคำนั้นมีจริงหรือไม่
    พวกเขากำลังถามจริงๆ
  • 4:16 - 4:20
    ว่านี่จะเป็นสื่อเข้าถึงได้สักกี่สมองนะ
  • 4:21 - 4:24
    เพราะผมคิดว่านี่คือสิ่งที่พวกเรา
    หวังกับภาษา
  • 4:24 - 4:27
    คำ คือกุญแจสำคัญ
  • 4:27 - 4:30
    ที่ไขเข้าสมองคนได้
  • 4:30 - 4:32
    และเมื่อได้เข้าไปในหัวหนึ่งคน
  • 4:33 - 4:34
    ไม่ค่อยคุ้มสักเท่าไหร่
  • 4:34 - 4:35
    มันยังไม่คุ้มที่จะรู้
  • 4:35 - 4:38
    สองหัวหรอ ก็แล้วแต่ว่าเป็นของใคร
  • 4:38 - 4:40
    เป็นล้านๆหัว โอเค นี่แหละที่ต้องการ
  • 4:41 - 4:47
    และคำที่ดีจริงต้องนำพาคุณสู่
    หัวสมองอีกมากมาย
  • 4:47 - 4:51
    และนั่นทำให้คุ้มค่าที่จะรู้
  • 4:51 - 4:54
    คำที่เจ๋งสุดคือ
  • 4:54 - 4:57
    (โอ เค)
  • 4:57 - 4:58
    นี่ไง
  • 4:58 - 4:59
    คำจริงที่สุดที่เรามี
  • 4:59 - 5:02
    มันเป็นคำที่ใกล้เคียงกุญแจสำคัญที่สุด
  • 5:02 - 5:04
    เป็นคำที่เข้าใจกันดีที่สุดทั่วโลก
  • 5:04 - 5:06
    ไม่ว่าคุณจะอยู่ไหน
  • 5:06 - 5:07
    ปัญหาก็คือ
  • 5:07 - 5:10
    ดูเหมือนจะไม่มีใครรู้
    ว่าตัวหนังสือสองตัวนั้นย่อมาจากอะไร
  • 5:10 - 5:12
    (เสียงหัวเราะ)
  • 5:12 - 5:14
    ซึ่งก็ประหลาดดี ว่าไหมครับ
  • 5:14 - 5:17
    แบบว่า อาจจะเป็นการสะกดผิด
    ของคำว่า all correct ละมั้ง
  • 5:17 - 5:19
    หรือย่อมาจาก
    old kinderhook
  • 5:19 - 5:23
    ดูเหมือนจะไม่มีใครรู้
    แต่จริงๆแล้วมันก็
  • 5:23 - 5:26
    ไม่ได้บอกว่าเรา
    ให้ความหมายคำอย่างไร
  • 5:26 - 5:29
    คำต่าง ๆ นั้นไม่มีความหมายอยู่ในตัวเอง
  • 5:30 - 5:33
    พวกเรานี่แหละ
    ใส่มันเข้าไปเอง
  • 5:33 - 5:37
    และผมคิดว่า เวลาที่พวกเรา
    ตามหาความหมายของชีวิตเรา
  • 5:38 - 5:40
    และความหมายของชีวิต
  • 5:40 - 5:43
    ผมว่าคำต่างๆ ก็
    มีส่วนเกี่ยวข้อง
  • 5:44 - 5:47
    และถ้าคุณตามหาความหมาย
    บางอย่าง
  • 5:47 - 5:49
    พจนานุกรมเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี
  • 5:50 - 5:52
    มันให้ความรู้สึกเป็นระเบียบ
  • 5:52 - 5:54
    ในจักรวาลอันแสนวุ่นวาย
  • 5:55 - 5:57
    มุมมองเราต่อสิ่งต่างๆ มีจำกัด
  • 5:58 - 6:00
    เราจึงต้องมีแบบแผน
  • 6:00 - 6:03
    เพื่อที่จะหาทาง
    แปลความหมาย
  • 6:03 - 6:05
    และดำเนินชีวิตในแต่ละวันได้
  • 6:05 - 6:09
    เราต้องการคำต่างๆ
    เพื่ออธิบายตัวเรา
  • 6:09 - 6:11
    ผมว่าเราหลายๆ คนรู้สึกอึดอัด
  • 6:12 - 6:14
    ว่าจะใช้คำเหล่านี้อย่างไร
  • 6:14 - 6:16
    พวกเราลืมไปว่า เราสร้างมันขึ้นมา
  • 6:16 - 6:19
    ไม่ใช่แค่คำที่ผมสร้าง
    ทุกคำถูกสร้างขึ้นมาหมด
  • 6:19 - 6:21
    แต่ไม่ใช่ทุกคำมีความหมาย
  • 6:22 - 6:26
    พวกเราเหมือนถูกกัก
    ไว้ในพจนานุกรม
  • 6:26 - 6:31
    ที่ไม่จำเป็นว่าจะเกี่ยว
    ข้องกับคนที่ไม่ได้เป็นเช่นเรา
  • 6:31 - 6:35
    และเหตุนี้เราก็ดูจะโดนฉีกห่าง
    ออกไปทุกๆ ปี
  • 6:35 - 6:37
    เมื่อเราจริงจังกับคำต่างๆมากขึ้น
  • 6:40 - 6:43
    จำไว้ว่า คำต่างๆ มันไม่จริง
  • 6:44 - 6:46
    มันไม่มีความหมาย แต่เรามี
  • 6:46 - 6:49
    ผมขอทิ้งท้ายด้วยการอ่าน
  • 6:50 - 6:52
    หนังสือของหนึ่งในนักปรัชญาที่ผมชอบ
  • 6:52 - 6:55
    บิล วัตเตอร์สัน ผู้สร้าง
    "Calvin and Hobbes."
  • 6:55 - 6:56
    เขากล่าวว่า
  • 6:57 - 7:01
    การสร้างชีวิตสะท้อนคุณค่า
    และความต้องการของจิตวิญญาณคุณ
  • 7:01 - 7:03
    เป็นความสำเร็จอันหาได้ยาก
  • 7:03 - 7:05
    การสร้างความหมายให้กับชีวิตตัวเอง
  • 7:05 - 7:07
    ไม่ใช่เรื่องง่าย
  • 7:07 - 7:08
    แต่ก็ไม่ได้ยากเกินไป
  • 7:08 - 7:11
    และผมคิดว่าคุณจะ
    สุขยิ่งขึ้นกับปัญหา
  • 7:11 - 7:13
    ขอบคุณครับ
  • 7:13 - 7:15
    (เสียงปรบมือ)
Title:
คำใหม่ที่สวยงาม บอกความคลุมเครือของอารมณ์
Speaker:
จอห์น เคอนิก
Description:

จอห์น เคอนิก หลงรักการค้นหาคำต่างๆ ที่บ่งบอกความรู้สึกอันหมองหม่นของเรา อย่างเช่น "lachesism" หรือ ภาวะกระหายหายนะ และ "sonder" หรือการตระหนักรู้ว่าชีวิตคนอื่นดูซับซ้อนกว่าตนเอง และ ณ ที่นี่ จอห์นจะเป็นสื่อกลางระหว่างความหมายของคำ และความหมายซ่อนที่เกี่ยวข้องกับเรา

more » « less
Video Language:
English
Team:
closed TED
Project:
TEDTalks
Duration:
07:28

Thai subtitles

Revisions