Return to Video

ทำไมเราจึงมีพิพิธภัณฑ์ - เจ. วี. มารันโต้ ( J. V. Maranto)

  • 0:12 - 0:15
    สวัสดีครับทุกท่าน
    เรามาเริ่มเที่ยวชมกันเลยดีกว่า
  • 0:15 - 0:17
    ยินดีต้อนรับสู่พิพิธภัณฑ์แห่งพิพิธภัณฑ์ครับ
  • 0:17 - 0:22
    พิพิธภัณฑ์เป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์มนุษยชาติ
    มานานกว่า 2000 ปีแล้ว
  • 0:22 - 0:25
    ต่มันไม่ได้เหมือนกับพิพิธภัณฑ์ในปัจจุบัน
    เสมอไปหรอกครับ
  • 0:25 - 0:32
    ประวัติศาสตร์ของพิพิธภัณฑ์นั้น
    เก่ากว่า และแปลกกว่าที่คุณคิดเอาไว้มาก
  • 0:32 - 0:34
    เราจะเริ่มตรงนี้ในส่วนกรีก
  • 0:34 - 0:38
    คำว่า "มิวเซียม" ของเรา
    มาจาก "มิวเซออน" (mouseion) ในภาษากรีก
  • 0:38 - 0:44
    วัดที่สร้างขึ้นสำหรับนพเทวี และเทพยดา
    แห่งศิลปะและวิทยาการ
  • 0:44 - 0:48
    ผู้วิงวอนขอให้เหล่านพเทวี
    เฝ้ารักษาสถานศึกษา
  • 0:48 - 0:51
    และประทานความปราดเปรื่อง
    แก่ผู้ที่คู่ควร
  • 0:51 - 0:54
    วัดเหล่านี้เต็มไปด้วยรูปปั้นที่ถูกนำมาถวาย
  • 0:54 - 0:55
    โมเสก
  • 0:55 - 0:58
    อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์อันซับซ้อน
  • 0:58 - 1:00
    บทกวี และงานเขียนทางวรรณกรรม
  • 1:00 - 1:05
    และสิ่งบูชาอื่นๆ ที่จะเหมาะสมจะแสดงถึง
    ความเป็นอมตะ
  • 1:05 - 1:07
    ของแรงบันดาลใจจากเหล่าเทพ
  • 1:07 - 1:10
    เรามาถึงส่วนเมนิเตอเรเนียน
  • 1:10 - 1:16
    พิพิธภัณฑ์แรกถูกสร้างขึ้น 530 ปีก่อน
    คริสกาล ในที่ซึ่งตอนนี้คืออิรัก
  • 1:16 - 1:21
    และภัณฑารักษ์คนแรก แท้จริงแล้วเป็นเจ้าหญิง
  • 1:21 - 1:26
    เอนนิกลาดิ-แนนนา เริ่มเก็บและจัด
    ของเมนิเตอแรเนียนเก่าๆ
  • 1:26 - 1:29
    ใน อี-จิ๊ก-พาร์ ซึ่งคือบ้านของเธอ
  • 1:29 - 1:32
    เมื่อนักโบราณคดีขุดค้นพบบริเวณดังกล่าว
  • 1:32 - 1:36
    พวกเขาค้นพบตัวอย่างมากมาย
    ที่ถูกจัดวางเป็นแถวอย่างเป็นระเบียบ
  • 1:36 - 1:40
    โดยมีป้ายดินปั้น เขียนกำกับไว้สามภาษา
  • 1:40 - 1:42
    เธอจะต้องมีงานเลี้ยงที่น่าสนใจมากแน่ๆ
  • 1:42 - 1:48
    ประเพณีการเก็บและแสดงของอันน่าทึ่งเหล่านี้
    เริ่มที่จะถูกเลียนแบบ
  • 1:48 - 1:51
    ดงที่คุณได้เห็นตรงนี้
    ในส่วนอาณาจักรโรมัน
  • 1:51 - 1:54
    กรุสมบัติแห่งนักการเมืองและผู้นำทางทหาร
  • 1:54 - 1:57
    ถูกบรรจุด้วยซากแห่งสงคราม
  • 1:57 - 2:00
    และที่รวบรวมและแสดงสัตว์ป่าหลวง
    ที่แสดงสัตว์ที่แปลกหายาก
  • 2:00 - 2:04
    ให้กับประชาชนในโอกาสสำคัญ
    เช่นในการแข่งขันของแกลดิเอเตอร์
  • 2:04 - 2:07
    อย่างที่คุณได้เห็น
    เรามีสิงโตตรงนี้และแกลดิเอเตอร์
  • 2:07 - 2:12
    และ อ่า ภารโรงน่าจะมาอยู่ตรงนี้นะเนี่ย
  • 2:12 - 2:14
    ต่อไป ตามมาเลยครับ
  • 2:14 - 2:18
    ขั้นถัดไปในวิวัฒนาการของพิพิธภัณฑ์
    เกิดขึ้นในยุคฟื้นฟู
  • 2:18 - 2:21
    เมื่อการศึกษาโลกธรรมชาติ
    ได้รับการสนับสนุนอีกครั้ง
  • 2:21 - 2:25
    หลังจากเกือบศตวรรษ
    ที่ทางตะวันตกไม่ได้ให้ความใส่ใจ
  • 2:25 - 2:29
    ตู้แห่งความสงสัยถูกเรียกอีกอย่างว่า
    "วันเดอร์แคมเมอร์" (Wunderkammers)
  • 2:29 - 2:33
    คือของสะสมที่ทำหน้าที่เสมือน
    สารานุกรมกายภาพ
  • 2:33 - 2:35
    ที่แสดงชิ้นตัวอย่าง
  • 2:35 - 2:39
    ลองเข้ามาในตู้ตรงนี้
    นั่นแหละ ระวังเสื้อคลุมนะ
  • 2:39 - 2:42
    และคุณจะได้ชม ตู้ของ โอล วอร์ม (Ole Worm)
  • 2:42 - 2:44
    หนึ่งในวัลเดอร์แคมเมอร์ที่มีชื่อเสียงที่สุด
  • 2:44 - 2:47
    เป็นของนักธรรมชาติวิทยา ผู้เชี่ยวชาญ
    ของโบราณ และแพทย์
  • 2:47 - 2:51
    ยุคศตวรรษที่ 17 ที่ร่ำรวย
    นามว่า โอล วอร์ม
  • 2:51 - 2:53
    โอล วอร์ม เก็บตัวอย่างทางธรรมชาติ
  • 2:53 - 2:55
    โครงกระดูกมนุษย์
  • 2:55 - 2:56
    ร่องรอยอักขระโบราณ
  • 2:56 - 2:59
    และตัวอย่างจากโลกใหม่
  • 2:59 - 3:01
    ในอีกตู้แห่งความสงสัย
  • 3:01 - 3:03
    คุณจะพบตัวอย่างที่มี
    ความผิดปกติทางพันธุกรรม
  • 3:03 - 3:04
    หินมีค่า
  • 3:04 - 3:05
    งานศิลปะ
  • 3:05 - 3:08
    และร่องรอยจารึกทางศาสนาและประวัติศาสตร์
  • 3:08 - 3:11
    โอ้ ว้าว คุณคงจะไม่อยากจับหรอกนะ
  • 3:11 - 3:14
    ตู้เหล่านี้เป็นของส่วนตัว และโดยส่วนใหญ่
    มันก็อยู่ในบ้านพัก
  • 3:14 - 3:18
    ถูกดูแลรักษาโดยเจ้าของของมัน
    ผู้ออกกฎ และผู้สนับสนุน
  • 3:18 - 3:21
    เช่นเดียวกันกับพ่อค้า
    และนักวิทยาศาสตร์ยุคแรก
  • 3:21 - 3:24
    ทีนี้ ใครได้ยินออแกนด์ละครสัตว์ไหม
  • 3:24 - 3:25
    ในยุค 1840
  • 3:25 - 3:29
    นักแสดงรุ่นเยาว์ที่มีความคิดริเริ่ม
    นามว่า ไพเนียส ที. บาร์นัม (Phineas T. Barnum)
  • 3:29 - 3:33
    ซื้อตู้แห่งความสงสัยที่มีชื่อเสียงบางส่วน
    จากยุโรป
  • 3:33 - 3:37
    และก่อตั้ง พิพิธภัณฑ์อเมริกันของบาร์นัม
    ในกรุง นิว ยอร์ค
  • 3:37 - 3:40
    ของสะสมหลากหลายน่าทึ่ง
  • 3:40 - 3:41
    ห้องบรรยาย
  • 3:41 - 3:42
    พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้ง
  • 3:42 - 3:43
    โรงละคร
  • 3:43 - 3:47
    และการแสดงประหลาด
    ที่เป็นที่รู้จักกันว่าการสรรหาผู้อยู่อาศัย
  • 3:47 - 3:48
    เช่น หมี
  • 3:48 - 3:49
    ช้าง
  • 3:49 - 3:50
    นักกายกรรม
  • 3:50 - 3:51
    ยักษ์
  • 3:51 - 3:52
    แฝดสยาม
  • 3:52 - 3:54
    นางเงือกฟิจิ
  • 3:54 - 3:56
    และสาวมีหนวด
  • 3:56 - 4:00
    ตลอดจนเป็นบ้านของเครื่องจักรยุคใหม่
    และอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
  • 4:00 - 4:04
    พิพิธภัณฑ์เปิดให้กับสาธารณะ
    และค่อยข้างจะเป็นปรากฏการณ์ใหม่
  • 4:04 - 4:07
    ก่อนบาร์นัม พิพิธภัณฑ์สาธารณะที่แรก
  • 4:07 - 4:10
    เปิดให้เฉพาะคนชั้นสูงและชั้นกลาง
  • 4:10 - 4:13
    และเป็นบางวันเท่านั้น
  • 4:13 - 4:15
    ผู้มาเยี่ยมชมจะต้องสมัคร
    เพื่อมาเยี่ยมชม
  • 4:15 - 4:18
    โดยส่งเอกสารเข้ามาก่อนจะเข้า
  • 4:18 - 4:21
    และเพียงคนกลุ่มเล็กๆ เท่านั้น
    ที่ได้เยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ในแต่ละวัน
  • 4:21 - 4:25
    ตระกูลลูว์ฟ (Louvre) มีชื่อเสียงเรื่องให้สมาชิกทุกคน
    จากสาธารณะเข้าพิพิธภัณฑ์ได้
  • 4:25 - 4:28
    แต่แค่สามวันต่อสัปดาห์เท่านั้น
  • 4:28 - 4:29
    ในศตวรรษที่ 19
  • 4:29 - 4:32
    พิพิธภัณฑ์ที่เราได้รู้จักกัน
    เริ่มที่จะเกิดขึ้น
  • 4:32 - 4:34
    สถาบันอย่างสมิทโซเนียน (Smithsonian)
    ถูกก่อตั้งขึ้น
  • 4:34 - 4:39
    ฉะนั้นเราก็ชมและศึกษาของต่างๆ
    โดยที่พวกมันไม่ถูกเก็บไว้มิดชิดอีกต่อไป
  • 4:39 - 4:42
    โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พิพิธภัณฑ์อเมริกา
  • 4:42 - 4:43
    รับหน้าที่ทำการทดลอง
  • 4:43 - 4:48
    และจ้างนักสำรวจเพื่อค้นหา
    และเก็บตัวอย่างทางธรรมชาติ
  • 4:48 - 4:54
    พิพิธภัณฑ์กลายเป็นศูนย์กลางของผู้รู้
    และศิลปิน และการค้นพบทางวิทยาศาสตร์
  • 4:54 - 4:57
    มันมักถูกเรียกว่า ยุคพิพิธภัณฑ์
  • 4:57 - 5:01
    ทุกวันนี้ พิพิธภัณฑ์เปิดให้ทุกคนได้รับชม
  • 5:01 - 5:03
    เป็นศูนย์กลางของการเรียนและทำวิจัย
  • 5:03 - 5:07
    และเปลี่ยนเป็นสถาบัน
    ที่มีความเกี่ยวข้องสอดคล้องมากขึ้น
  • 5:07 - 5:10
    แต่คำถามที่ว่าใครที่จะต้องไปนั้น
    ยังคงมีอยู่
  • 5:10 - 5:14
    ในเมื่อราคาตั๋วสามารถที่จะสกัดกั้น
    การเยี่ยมชม
  • 5:14 - 5:19
    ของว่าที่นักวิชาการ ศิลปิน
    และกลุ่มเป้าหมายที่มีแรงบันดาลใจเปี่ยมล้น
  • 5:19 - 5:22
    ผู้ที่ไม่มีกำลังทรัพย์เพียงพอ
    ที่จะสามารถสนองความใคร่รู้เขาได้
  • 5:22 - 5:24
    ขอบคุณทุกท่านที่มาเยี่ยมชมครับ
  • 5:24 - 5:27
    และขอเชิญหยุดซื้อของที่ระลึก
    ที่ร้านขายของตรงทางออกได้ตามอัธยาศัยครับ
Title:
ทำไมเราจึงมีพิพิธภัณฑ์ - เจ. วี. มารันโต้ ( J. V. Maranto)
Description:

ชมบทเรียนแบบเต็มได้ที่: http://ed.ted.com/lessons/why-do-we-have-museums-j-v-maranto

พิพิธภัณฑ์เป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติกว่า 2,000 ปี -- แต่พวกมันไม่ได้เป็นเหมือนพิพิธภัณฑ์ที่พวกเราเข้าเยี่ยมชมในทุกวันนี้
เจ. วี. มารันโต้ เผยวิวัฒนาการของพิพิธภัณฑ์ จากพิพิธภัณฑ์แรกในยุค 530 ก่อนประวัติศาสตร์ (ที่รักษาการโดยเจ้าหญิง) ถึงการแสดงประหลาดของ พีที บาร์นั่ม และอื่นๆ

บทเรียนโดย J. V. Maranto, แอนิเมชั่นโดย Zedem Media.

more » « less
Video Language:
English
Team:
closed TED
Project:
TED-Ed
Duration:
05:44

Thai subtitles

Revisions