Return to Video

แว่นตาช่วยทำให้เรามองเห็นได้อย่างไร - แอนดรู บาสทอโรส (Andrew Bastawrous) และ แคลร์ กิลเบิร์ต (Clare Gilbert)

  • 0:07 - 0:09
    กว่า 2000 ปีมาแล้ว
  • 0:09 - 0:14
    นักปรัชญาชาวโรมัน เซเนกา
    ก้มมองดูหนังสือของเขาผ่านแก้วน้ำ
  • 0:14 - 0:19
    ทันใดนั้นเอง
    ตัวหนังสือที่อยู่ข้างใต้ก็เปลี่ยนไป
  • 0:19 - 0:22
    คำต่าง ๆ มีความชัดเจนขึ้นอย่างน่าอัศจรรย์
  • 0:22 - 0:25
    แต่เป็นระยะเวลาอีกศตวรรษต่อมา
    หลักการเดียวกันนี้
  • 0:25 - 0:30
    จึงจะถูกนำไปใช้สร้างเป็นแว่นตารุ่นแรก
  • 0:30 - 0:34
    ทุกวันนี้ แว่นตาช่วยคนหลายล้าน
    ที่มีสายตาไม่ดี
  • 0:34 - 0:37
    เนื่องจากความผิดปกติเกี่ยวกับการสะท้อน
  • 0:37 - 0:41
    กุญแจสำคัญต่อความเข้าใจ
    อยู่ที่การสะท้อนแสง
  • 0:41 - 0:44
    ซึ่งมันคือคุณสมบัติของตัวกลางโปร่งแสง
    เช่น กระจก
  • 0:44 - 0:45
    น้ำ
  • 0:45 - 0:50
    หรือตา ที่เปลี่ยนทิศทางของแสง
    ที่เดินทางผ่านมัน
  • 0:50 - 0:52
    ตามีพื้นผิวที่สะท้อนแสงอยู่สองชั้น
  • 0:52 - 0:55
    ได้แก่ แก้วตา และเลนส์
  • 0:55 - 0:57
    โดยปกติแล้ว พื้นผิวเหล่านี้จะทำงานด้วยกัน
  • 0:57 - 1:02
    เพื่อสะท้อนแสงออกไปรวมกันอย่างแม่นยำ
    ที่เรตินา
  • 1:02 - 1:06
    ซึ่งเป็นชั้นของเนื้อเยื่อที่ไวต่อแสง
    ที่อยู่ทางด้านหลังของตา
  • 1:06 - 1:09
    ซึ่งทำงานร่วมกับสมองเพื่อทำให้เกิดภาพ
  • 1:09 - 1:11
    แต่หลายคนมีความผิดปกติ
    ที่เกี่ยวกับการสะท้อนแสง
  • 1:11 - 1:14
    ไม่ว่าจะเป็นในช่วงเด็ก ๆ
    ในขณะที่พวกเขากำลังเติบโต
  • 1:14 - 1:17
    หรือในช่วงต่อมาเมื่อดวงตามีอายุมากแล้ว
  • 1:17 - 1:20
    ความไม่สมบูรณ์แบบของกระจกตาและเลนส์
  • 1:20 - 1:24
    ทำให้เกิดแสงที่ถูกสะท้อนออกไป
    ตกอยู่ก่อนหรือหลังเรตินา
  • 1:24 - 1:27
    ทำให้ภาพออกมาไม่ชัดเจน
  • 1:27 - 1:30
    คนที่มีปัญหานี้ยังสามารถเห็นสี
  • 1:30 - 1:31
    การเคลื่อนไหว
  • 1:31 - 1:32
    และแสงได้
  • 1:32 - 1:36
    แต่รายละเอียดที่พวกเขามองเห็น
    จะอยู่นอกระยะโฟกัส
  • 1:36 - 1:39
    คนที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับการสะท้อนแสง
    ที่แตกต่างกัน
  • 1:39 - 1:41
    มีดวงตาที่แตกต่างกัน
  • 1:41 - 1:44
    ในบางราย แสงสะท้อนมากเกินไป
  • 1:44 - 1:46
    และในบางราย แสงสะท้อนน้อยเกินไป
  • 1:46 - 1:49
    ตาที่มีจุดโฟกัสตกอยู่ที่หน้าเรตินา
    เรียกว่า ไมโอปิก
  • 1:49 - 1:51
    หรือสายตาสั้น
  • 1:51 - 1:53
    พวกเขาสามารถเห็นวัตถุที่อยู่ใกล้ ๆ ได้ชัดเจน
  • 1:53 - 1:56
    แต่ของที่อยู่ห่างออกไปจะตกอยู่นอกระยะโฟกัส
  • 1:56 - 1:58
    แต่เมื่อจุดโฟกัสอยู่หลังเรตินา
  • 1:58 - 2:02
    คนพวกนั้นเรียกว่า ไฮเปอร์โอปิก
    หรือคนสายตายาว
  • 2:02 - 2:05
    สำหรับคนพวกนี้ วัตถุที่อยู่ใกล้
    ไม่ได้ตกอยู่ในระยะโฟกัส
  • 2:05 - 2:08
    แต่ของที่อยู่ไกลออกไปกลับคมชัด
  • 2:08 - 2:12
    สุดท้าย บางคนมีกระจกตา
    ที่ไม่ได้เป็นทรงโค้ง
  • 2:12 - 2:14
    ที่ทำให้เกิด แอสติกมาทิซึม
  • 2:14 - 2:18
    ซึ่งคือรูปแบบหนึ่งของการมองเห็น
    ที่ตกอยู่นอกระยะโฟกัส ที่ทำให้วัตถุไม่ชัดเจน
  • 2:18 - 2:20
    ไม่ว่าจะใกล้หรือไกล
  • 2:20 - 2:23
    เมื่อเราอายุมากขึ้น ตาของเรา
    ต้องพบกับความท้าทายใหม่ ๆ
  • 2:23 - 2:26
    เมื่อเรายังเด็ก เลนส์ของตามีความยืดหยุ่น
  • 2:26 - 2:30
    และสามารถเปลี่ยนรูปร่าง
    เพื่อให้ภาพตกอยู่ในโฟกัสได้
  • 2:30 - 2:32
    ซึ่งเรียกว่า การจัดให้เข้าที่
  • 2:32 - 2:37
    มันทำให้วัตถุอยู่ในโฟกัส
    เมื่อเราเปลี่ยนมุมมองจากไกลเป็นใกล้
  • 2:37 - 2:40
    แต่เมื่อเราอายุมากขึ้น
    เลนส์มีความยืดหยุ่นน้อยลง
  • 2:40 - 2:44
    และไม่สามารถเปลี่ยนรูปร่าง
    เมื่อเราต้องการมองวัตถุที่อยู่ใกล้ได้
  • 2:44 - 2:46
    ซึ่งเรียกว่า เพรสไบโอเปีย
  • 2:46 - 2:51
    และมีส่งผลในผู้ใหญ่ที่มีอายุเริ่มจากราว 40 ปี
  • 2:51 - 2:52
    ไมโอเปีย
  • 2:52 - 2:53
    ไฮเปอร์โอเปีย
  • 2:53 - 2:54
    แอสติกมาทิซึ
  • 2:54 - 2:55
    และเพรสไบโอเปีย
  • 2:55 - 2:58
    แต่ละสภาวะเหล่านี้
    เป็นความผิดปกติเกี่ยวกับการสะท้อนแสง
  • 2:58 - 3:02
    ทุกวันนี้ เราสามารถแก้ไขพวกมันได้
    ด้วยแว่นตาหรือคอนแทคเลนส์
  • 3:02 - 3:07
    ซึ่งทำงานโดยปรับโฟกัสของแสงใหม่
    เพื่อที่มันจะตกอยู่ตรงเรตินา
  • 3:07 - 3:10
    มันยังเป็นไปได้ที่จะปรับการมองเห็น
    ด้วยการผ่าตัด
  • 3:10 - 3:13
    โดยใช้เลเซอร์ที่เปลี่ยนรูปร่างของกระจกตา
  • 3:13 - 3:16
    และเปลี่ยนคุณสมบัติการสะท้อนแสงของมัน
  • 3:16 - 3:18
    แต่แว่นตายังคงเป็นที่นิยมที่สุด
  • 3:18 - 3:20
    โดยการใช้เลนส์ที่ถูกทำมาอย่างปราณีต
  • 3:20 - 3:23
    เพื่อบังคับแสงให้ตกลงบนจุดที่ต้องการ
    บนเรตินาอย่างเหมาะเจาะ
  • 3:23 - 3:27
    เราก็สามารถกลับมามองเห็นอย่างชัดเจนได้
  • 3:27 - 3:30
    เรามาไกลมากจากการค้นพบของเซเนกา
  • 3:30 - 3:32
    และแก้วดิบจากวันวาน
  • 3:32 - 3:36
    ใน ค.ศ. 1727 ช่างทำแว่นตาชาวอังกฤษ
    ชื่อว่า เอ็ดเวิร์ด สการ์เล็ต
  • 3:36 - 3:39
    พัฒนารูปแบบแว่นตาที่ทันสมัย
  • 3:39 - 3:43
    ซึ่งอยู่เข้าที่เข้าทางได้ด้วยขา
    ที่มีตะขอสำหรับเกี่ยวหูแต่ละข้าง
  • 3:43 - 3:46
    ทุกวันนี้ แว่นตาได้รับแรงบันดาลใจ
    จากนักออกแบบ
  • 3:46 - 3:50
    แต่พวกมันยังคงมีความจำเพาะ
    และความเป็นส่วนตัว
  • 3:50 - 3:55
    แต่ละคู่ถูกออกแบบมาสำหรับแต่ละคน
    เพื่อที่จะให้อำนาจการมองเห็นที่เป็นเอกลักษณ์
  • 3:55 - 4:01
    ฉะนั้น ถ้าคุณเป็นหนึ่งในคน 500 ล้านคน
    ที่มีปัญหาด้านการมองเห็นระยะใกล้หรือไกล
  • 4:01 - 4:02
    หรือทั้งสองอย่าง
  • 4:02 - 4:06
    จะมีแว่นตาสักคู่หนึ่งที่กำลังรอ
    ที่จะเผยโฉมโลกใบใหม่
  • 4:06 - 4:08
    ที่ซ่อนอยู่ในทัศนะเบื้องหน้าของคุณ
Title:
แว่นตาช่วยทำให้เรามองเห็นได้อย่างไร - แอนดรู บาสทอโรส (Andrew Bastawrous) และ แคลร์ กิลเบิร์ต (Clare Gilbert)
Description:

ชมบทเรียนเต็มที่: http://ed.ted.com/lessons/how-do-glasses-help-us-see-andrew-bastawrous-and-clare-gilbert

ทุกวันนี้ แว่นตาช่วยคนหลายล้านที่มีสายตาไม่ดีให้มองเห็นได้อย่างชัดเจน แต่มันทำได้อย่างไร แอนดรู บาสทอโรส และ แคลร์ กิลเบิร์ต เปิดเผยคำตอบโดยอธิบายการสะท้อน -- คุณสมบัติของตัวกลางโปร่งแสง เช่น กระจก น้ำ หรือตา ที่เปลี่ยนทิศทางของแสงที่เดินทางผ่านมัน

บทเรียนโดย Andrew Bastawrous และ Clare Gilbert, แอนิเมชันโดย Andrew Foerster

more » « less
Video Language:
English
Team:
closed TED
Project:
TED-Ed
Duration:
04:24

Thai subtitles

Revisions