1 00:00:00,551 --> 00:00:03,607 ปัญหา: "จงแสดงจำนวนตรรกยะ 19/27 2 00:00:03,607 --> 00:00:06,538 (หรือ 19 ใน 27) เป็นทศนิยมรู้จบ 3 00:00:06,538 --> 00:00:08,666 หรือทศนิยมซ้ำ. 4 00:00:08,666 --> 00:00:10,371 ใส่ทศนิยมแค่หกตำแหน่งแรก 5 00:00:10,371 --> 00:00:12,651 ในคำตอบของคุณ." 6 00:00:12,651 --> 00:00:14,599 ขอผมลองนะ. 7 00:00:14,599 --> 00:00:18,791 เราอยากเขียน 19/27 -- 8 00:00:18,791 --> 00:00:23,654 ซึ่งก็คือ 19 ÷ 27 -- เป็นทศนิยม. 9 00:00:23,654 --> 00:00:26,349 ลองนำ 27 ไปหาร 19 กัน. 10 00:00:26,349 --> 00:00:29,485 27 ไปหาร 19. 11 00:00:29,485 --> 00:00:31,264 และเรารู้ว่ามันเกี่ยวกับทศนิยม 12 00:00:31,264 --> 00:00:33,707 ตรงนี้ เพราะ 27 มากกว่า 19, 13 00:00:33,707 --> 00:00:36,291 และมันหารไม่ได้พอดี. 14 00:00:36,291 --> 00:00:38,131 ลองทำดู. 15 00:00:38,131 --> 00:00:39,305 27 ไปหาร 1 ไม่ได้. 16 00:00:39,305 --> 00:00:40,923 มันไปหาร 19 ไม่ได้. 17 00:00:40,923 --> 00:00:43,994 มันไปหาร 190 ได้. 18 00:00:43,994 --> 00:00:47,224 ดูเหมือนว่า 27 มีค่าประมาณ 30. 19 00:00:47,224 --> 00:00:48,794 มันน้อยกว่า 30 นิดหน่อย. 20 00:00:48,794 --> 00:00:50,430 30 คูณ 6 จะได้ 180. 21 00:00:50,430 --> 00:00:53,132 ลองใช้ ประมาณ 6 ครั้ง. 22 00:00:53,132 --> 00:00:54,045 ลองดูว่าใช้ได้ไหม. 23 00:00:54,045 --> 00:00:57,402 ทีนี้, 6 คูณ 7 ได้ 42. 24 00:00:57,402 --> 00:01:01,604 6 คูณ 2 ได้ 12, บวก 4 ได้ 16. 25 00:01:01,604 --> 00:01:06,365 แล้วเมื่อเราลบ, 190 ลบ 162 จะเท่ากับ -- 26 00:01:06,365 --> 00:01:08,942 ที่จริง เราได้ 27 อีกตัว. 27 00:01:08,942 --> 00:01:10,716 เพราะเมื่อเราลบ -- 28 00:01:10,716 --> 00:01:12,510 เราได้ 10 จากหลักสิบ. 29 00:01:12,510 --> 00:01:13,966 มันกลายเป็น 8 สิบ. 30 00:01:13,966 --> 00:01:15,751 นี่กลายเป็น 28. 31 00:01:15,751 --> 00:01:17,522 เราจึงได้ 27 อีกตัวในนั้น. 32 00:01:17,522 --> 00:01:19,143 ลองทำดู. 33 00:01:19,143 --> 00:01:22,476 ลองใส่ 27 อีกตัว. 34 00:01:22,476 --> 00:01:24,328 27 เจ็ดตัว. 35 00:01:24,328 --> 00:01:26,923 7 คูณ 7 ได้ 49. 36 00:01:26,923 --> 00:01:31,190 7 คูณ 2 ได้ 14, บวก 4 เป็น 18. 37 00:01:31,190 --> 00:01:33,459 ตอนนี้เศษของเราคือ 1. 38 00:01:33,459 --> 00:01:37,859 เราดึง 0 อีกตัวลงมาได้. 39 00:01:37,859 --> 00:01:39,912 27 หาร 10 ได้ 0 ครั้ง. 40 00:01:39,912 --> 00:01:42,146 0 คูณ 27 ได้ 0. [ไม่ใช่ "10" ซาลพูดผิด.] 41 00:01:42,146 --> 00:01:44,102 ลบ -- เราเหลือเศษ 10. 42 00:01:44,102 --> 00:01:46,694 แต่ตอนนี้ เราดึง 0 อีกตัวได้. 43 00:01:46,694 --> 00:01:51,014 ลองดึง 0 นี่ตรงนี้มา. 44 00:01:51,014 --> 00:01:56,494 แล้ว 27 ไปหาร 100 ได้ 3 ครั้ง. 45 00:01:56,494 --> 00:02:05,944 3 คูณ 27 ได้ 60, บวก 21 เป็น 81. 46 00:02:05,944 --> 00:02:09,154 แล้วเราลบ: 100 ลบ 81. 47 00:02:09,154 --> 00:02:10,436 เราก็เอา 100 จากหลักร้อยมา 48 00:02:10,436 --> 00:02:13,331 แล้วทำเป็นสิบ 10 ตัว. 49 00:02:13,331 --> 00:02:15,390 แล้วเราก็เอา 1 จากสิบนั้น 50 00:02:15,390 --> 00:02:18,139 จากหลักสิบมาเป็นหนึ่ง 10 ตัว. 51 00:02:18,139 --> 00:02:22,386 แล้ว 9 สิบลบ 8 สิบเท่ากับสิบ 1 ตัว. 52 00:02:22,386 --> 00:02:24,719 แล้ว 10 ลบ 1 เป็น 9. 53 00:02:24,719 --> 00:02:25,616 มันจึงเท่ากับ 19. 54 00:02:25,616 --> 00:02:26,291 55 00:02:26,291 --> 00:02:28,343 คุณอาจคิดในใจได้. 56 00:02:28,343 --> 00:02:29,254 แล้วเรามี -- 57 00:02:29,254 --> 00:02:30,732 ผมเห็นสิ่งที่น่าสนใจตรงนี้ -- 58 00:02:30,732 --> 00:02:33,593 เพราะเมื่อเราดึง 0 ตัวต่อไปลงมา 59 00:02:33,593 --> 00:02:34,899 เราจะได้ 190 เหมือนเดิม. 60 00:02:34,899 --> 00:02:36,814 เราเห็น 190 บนนี้. 61 00:02:36,814 --> 00:02:38,329 ลองทำต่อไป. 62 00:02:38,329 --> 00:02:40,572 27 ไปหาร 190 -- 63 00:02:40,572 --> 00:02:42,654 เราเล่นเกมนี้มาแล้ว. 64 00:02:42,654 --> 00:02:44,551 มันไปหารได้ 7 ครั้ง. 65 00:02:44,551 --> 00:02:48,283 7 คูณ 27 -- เราหาไปแล้ว -- ได้ 189. 66 00:02:48,283 --> 00:02:49,146 เราลบ. 67 00:02:49,146 --> 00:02:50,591 แล้วเหลือเศษ 1. 68 00:02:50,591 --> 00:02:54,013 แล้วเราดึงศูนย์อีกตัวลงมา. 69 00:02:54,013 --> 00:02:57,307 เราบอกว่า 27 ไปหาร 10 ได้ 0 ครั้ง. 70 00:02:57,307 --> 00:02:59,068 0 คูณ 27 ได้ 0. 71 00:02:59,068 --> 00:03:00,261 ลบ. 72 00:03:00,261 --> 00:03:01,641 แล้วคุณได้ -- 73 00:03:01,641 --> 00:03:02,945 เรายังมี 10 อยู่ 74 00:03:02,945 --> 00:03:07,298 แต่เราดึง 0 ลงมาอีกตัว. 75 00:03:07,298 --> 00:03:09,083 คุณจึงได้ 27, ไปหาร 100 -- 76 00:03:09,083 --> 00:03:10,438 (เราทำไปแล้ว.) 77 00:03:10,438 --> 00:03:11,599 -- ได้ 3 ครั้ง. 78 00:03:11,599 --> 00:03:13,750 คุณเห็นว่าเกิดอะไรขึ้นแล้ว. 79 00:03:13,750 --> 00:03:16,671 มันคือ 0.703703. 80 00:03:16,671 --> 00:03:18,947 แล้วเราก็ได้ 703 ซ้ำไป. 81 00:03:18,947 --> 00:03:27,218 นี่จึงเท่ากับ 0.703703703703-- 82 00:03:27,218 --> 00:03:29,718 ไปเรื่อยๆ ไม่สิ้นสุด. 83 00:03:29,718 --> 00:03:32,267 สัญลักษณ์เพื่อแสดง 84 00:03:32,267 --> 00:03:34,419 ทศนิยมซ้ำแบบนี้ 85 00:03:34,419 --> 00:03:36,405 คือเขียนจำนวนที่ซ้ำ -- 86 00:03:36,405 --> 00:03:38,547 ในกรณีนี้คือ 7,0 และ 3-- 87 00:03:38,547 --> 00:03:40,057 แล้วคุณใส่เส้นข้างบน 88 00:03:40,057 --> 00:03:40,999 ทศนิยมซ้ำนั้น 89 00:03:40,999 --> 00:03:41,789 เพื่อบอกว่าซ้ำ. 90 00:03:41,789 --> 00:03:44,984 คุณใส่เส้นเหนือ 7, 0, และ 3, 91 00:03:44,984 --> 00:03:47,130 ซึ่งหมายความว่า 703 จะ 92 00:03:47,130 --> 00:03:49,423 ซ้ำไปเรื่อยๆ. 93 00:03:49,423 --> 00:03:52,871 แล้วลองใส่คำตอบในกล่องเลย. 94 00:03:52,871 --> 00:04:02,107 มันก็คือ 0.703703. 95 00:04:02,107 --> 00:04:03,341 และเขาบอกให้ใส่แค่ 96 00:04:03,341 --> 00:04:05,838 หกตำแหน่งแรกของทศนิยมเป็นคำตอบ. 97 00:04:05,838 --> 00:04:07,636 แล้วเขาไม่ได้บอกให้เราปัดหรือประมาณ-- 98 00:04:07,636 --> 00:04:10,196 เพราะ แน่นอน ถ้าเขาบอกให้เราปัด 99 00:04:10,196 --> 00:04:13,957 ทศนิยมสุดท้าย ตำแหน่งที่หก 100 00:04:13,957 --> 00:04:15,017 คุณต้องปัดจาก 6 เป็น 7 101 00:04:15,017 --> 00:04:16,107 เพราะเลขต่อไปคือ 7. 102 00:04:16,107 --> 00:04:17,485 แต่เขาไม่ได้บอกให้ปัด. 103 00:04:17,485 --> 00:04:19,337 เขาแค่บอกว่า "ใส่หกตำแหน่งแรก 104 00:04:19,337 --> 00:04:20,988 ของทศนิยมเป็นคำตอบ" 105 00:04:20,988 --> 00:04:23,135 มันจึงใช้ได้แล้ว. 106 00:04:23,135 --> 00:04:24,604 แล้วก็ถูกด้วย.