0:00:00.000,0:00:00.730 0:00:00.730,0:00:01.250 0:00:01.250,0:00:03.570 บวก. ทอนเป็นอย่างต่ำ และเขียนเป็นจำนวนคละ. 0:00:03.570,0:00:06.740 เรามีจำนวนคละสามตัวตรงนี้: 3 1/2 บวก 0:00:06.740,0:00:10.130 11 2/5 บวก 4 3/15. 0:00:10.130,0:00:13.870 เราเห็นมาแล้วว่า เราบอกอันนี้เป็น[br]3 บวก 1/12 0:00:13.870,0:00:16.219 บวก 11 บวก 2/5 --[br]ขอผมเขียนลงไปนะ. 0:00:16.219,0:00:23.180 นี่ก็เหมือนกับ 3 บวก 1/12 บวก 11 บวก 2/5 0:00:23.180,0:00:27.330 บวก 4 บวก 3/15. 0:00:27.330,0:00:30.170 จำนวนคละ 3 1/2 นั้นหมายถึง[br]3 กับ 0:00:30.170,0:00:32.840 1/12 หรือ 3 บวก 1/12. 0:00:32.840,0:00:35.930 และเนื่องจากเราบวกจำนวน ลำดับ 0:00:35.930,0:00:37.690 จึงไม่สำคัญ เราก็บวกจำนวนเต็ม 0:00:37.690,0:00:39.500 ทั้งหมดด้วยกันได้. 0:00:39.500,0:00:46.500 เราจึงได้ 3 บวก 11 บวก 4,[br]แล้วเราก็บวกเศษส่วน 0:00:46.500,0:00:57.080 1/12 บวก 2/5 บวก 3/15. 0:00:57.080,0:00:58.650 ทีนี้ ส่วนสีฟ้านั่นตรงไปตรงมา. 0:00:58.650,0:00:59.540 เราก็แค่บวกจำนวน. 0:00:59.540,0:01:05.360 3 บวก 11 เป็น 14 บวก 4 เป็น 18,[br]ส่วนนั้นตรงนั้น 0:01:05.360,0:01:06.740 ก็แค่ 18. 0:01:06.740,0:01:09.080 นี่จึงซับซ้อนกว่าหน่อย เพราะเรารู้ว่า 0:01:09.080,0:01:12.120 เวลาเราบวกเศษส่วน เราต้องมี[br]ส่วนเหมือนกัน. 0:01:12.120,0:01:14.590 ตอนนี้เราต้องทำให้สามตัวนี้มี 0:01:14.590,0:01:17.030 ตัวส่วนเหมือนกัน และตัวส่วนนั้น 0:01:17.030,0:01:21.910 ต้องเป็นตัวคูณร่วมน้อย[br]ของ 12, 5 และ 15. 0:01:21.910,0:01:24.210 ตอนนี้ เราทำแบบถึกก็ได้. 0:01:24.210,0:01:25.530 เราก็หาตัวคูณ. 0:01:25.530,0:01:28.310 เราเลือกจำนวนหนึ่งมา หาตัวคูณ 0:01:28.310,0:01:31.020 ไปเรื่อยๆ แล้วหาว่าตัวคูณใด 0:01:31.020,0:01:34.080 หารด้วย 5 และ 15 ลงตัว. 0:01:34.080,0:01:36.330 หรืออีกวิธีที่เราทำได้ คือ แยกตัวประกอบ 0:01:36.330,0:01:39.590 เฉพาะของจำนวนแต่ละตัว แล้ว 0:01:39.590,0:01:42.670 บอกว่าตัวคูณร่วมน้อย ต้องมี 0:01:42.670,0:01:45.960 ตัวประกอบเฉพาะของแต่ละตัวนี้[br]หมายความว่ามันมี 0:01:45.960,0:01:47.200 เลขแต่ละตัวพวกนี้. 0:01:47.200,0:01:48.910 ขอผมทำให้ดูนะ. 0:01:48.910,0:01:54.640 ถ้าเราแยกตัวประกอบเฉพาะของ 12,[br]12 คือ 2 คูณ 6, 0:01:54.640,0:02:03.020 6 คือ 2 คูณ 3, ดังนั้น 12[br]เท่ากับ 2 คูณ 2 คูณ 3. 0:02:03.020,0:02:05.310 นี่คือการแยกตัวประกอบเฉพาะของ 12. 0:02:05.310,0:02:08.940 ทีนี้ ถ้าเราทำ 5, การแยกตัวประกอบ[br]เฉพาะของ 5, ทีนี้, 5 0:02:08.940,0:02:12.900 ก็แค่ 1 กับ 5, 5 จึงเป็นจำนวนเฉพาะ. 0:02:12.900,0:02:14.670 นี่คือการแยกตัวประกอบเฉพาะของ 5. 0:02:14.670,0:02:16.210 มีแค่ 5 ตรงนี้. 0:02:16.210,0:02:17.660 1 นี่ไม่มีประโยชน์. 0:02:17.660,0:02:19.880 5 ก็แค่ 5. 0:02:19.880,0:02:23.340 แล้ว 15, ลองทำ 15 กัน. 0:02:23.340,0:02:25.620 ที่จริง เวลาผมแยกตัวประกอบเฉพาะ[br]ของ 5, ผมควร 0:02:25.620,0:02:27.620 บอกว่า ดูสิ 5 เป็นจำนวนเฉพาะ. 0:02:27.620,0:02:30.880 ไม่มีจำนวนที่มากกว่า 1 จำนวนใด[br]ที่ไปหารมันได้ 0:02:30.880,0:02:33.070 การสร้างต้นไม้จึงไม่มีค่าอะไร. 0:02:33.070,0:02:38.230 ลอง 15 กัน, การแยก[br]ตัวประกอบเฉพาะของ 15 0:02:38.230,0:02:43.450 15 คือ 3 คูณ 5, และตอนนี้ทั้งคู่[br]เป็นจำนวนเฉพาะ. 0:02:43.450,0:02:48.210 เราจึงต้องการเลขที่มี 2 สองตัวกับ 3 0:02:48.210,0:02:49.310 ลองดูที่ 12 ตรงนี้. 0:02:49.310,0:02:55.165 ตัวส่วนของเราต้องมี 2 [br]อย่างน้อย 2 ตัว กับ 3 หนี่งตัว, 0:02:55.165,0:02:56.080 ของเขียนลงไป. 0:02:56.080,0:02:59.530 มันต้องเป็น 2 คูณ 2 คูณ 3. 0:02:59.530,0:03:01.390 มันต้องมีอย่างน้อยเท่านั้น. 0:03:01.390,0:03:04.120 ทีนี้ มันต้องมี 5 ด้วย จริงไหม? 0:03:04.120,0:03:06.380 เพราะมันต้องเป็นจำนวนเท่าของ 5. 0:03:06.380,0:03:09.050 5 เป็นตัวประกอบเฉพาะอีกตัว มันจึงต้องมี 0:03:09.050,0:03:09.900 5 ในนั้น. 0:03:09.900,0:03:11.670 มันไม่ต้องมี 5 แล้ว. 0:03:11.670,0:03:14.390 แล้วมันต้องมี 3 กับ 5. 0:03:14.390,0:03:16.550 ทีนี้ เรามี 5 แล้ว. 0:03:16.550,0:03:20.440 เรามี 3 จาก 12 และเรามี 5 0:03:20.440,0:03:24.090 จาก 5 แล้ว จำนวนนี้จึงหารด้วย 0:03:24.090,0:03:26.350 ทั้งหมดนั้นลงตัว คุณเห็นได้[br]เนื่องจากมันมี 12 0:03:26.350,0:03:30.570 ในนั้น, มี 5 ในนั้น, และมี 15 ในนั้น. 0:03:30.570,0:03:31.790 เลขนี้คืออะไร? 0:03:31.790,0:03:33.810 2 คูณ 2 ได้ 4. 0:03:33.810,0:03:36.460 4 คูณ 3 ได้ 12. 0:03:36.460,0:03:38.640 12 คูณ 5 ได้ 60. 0:03:38.640,0:03:43.090 ตัวคูณร่วมน้อยของ 12, 5 และ 15 คือ 60. 0:03:43.090,0:03:45.000 นี่จะเป็นบวก. 0:03:45.000,0:03:47.490 เราจะได้ส่วน 60. 0:03:47.490,0:03:51.040 ทั้งหมดนี้จะเป็น ส่วน 60. 0:03:51.040,0:03:54.160 เศษส่วนทั้งสามนี้มีส่วนเป็น 60. 0:03:54.160,0:03:56.850 ทีนี้ จาก 12 ไป 60, เราต้องคูณ 0:03:56.850,0:04:00.110 ตัวส่วนด้วย 5, เรายังต้องคูณตัวเศษ 0:04:00.110,0:04:02.930 ด้วย 5, ได้ 1 คูณ 5 เป็น 5. 0:04:02.930,0:04:05.900 5/60 เท่ากับ 1/12. 0:04:05.900,0:04:08.200 จาก 5 ไป 60 ในตัวส่วน เราต้อง 0:04:08.200,0:04:10.490 คูณด้วย 12, เราก็ต้องคูณ 0:04:10.490,0:04:11.580 ตัวเศษด้วย. 0:04:11.580,0:04:15.150 12 คูณ 2 เป็น 24. 0:04:15.150,0:04:18.740 และสุดท้าย, 15 เป็น 60, เราต้อง[br]คูณด้วย 4, คุณ 0:04:18.740,0:04:20.339 ก็ต้องทำแบบเดียวกับตัวเศษ. 0:04:20.339,0:04:27.120 4 คูณ 3 เป็น 12. 0:04:27.120,0:04:29.020 และตอนนี้เรามีตัวส่วนเหมือนกัน. 0:04:29.020,0:04:33.460 เราพร้อมจะบวกแล้ว. 0:04:33.460,0:04:34.380 ลองทำดู. 0:04:34.380,0:04:40.970 นี่จะได้ 18 บวก, แล้วก็สว่น 60, 0:04:40.970,0:04:45.450 เราบวก 5 บวก 24, ได้ 29. 0:04:45.450,0:04:52.320 29 บวก 12, ลองดู, 29[br]บวก 10 ได้ 39 0:04:52.320,0:04:55.420 บวก 2 เป็น 41. 0:04:55.420,0:04:57.940 มันจะเท่ากับ 41. 0:04:57.940,0:05:01.800 และเท่าที่ผมรู้, 41 กับ 60 ไม่มี 0:05:01.800,0:05:04.030 ตัวประกอบร่วมกัน. 0:05:04.030,0:05:06.230 41 ดูจะเป็นจำนวนเฉพาะนะ 0:05:06.230,0:05:12.220 คำตอบสุดท้ายจึงเป็น[br]18 41/60. 0:05:12.220,0:05:15.399