1 00:00:00,800 --> 00:00:02,133 วันนี้ผมอยากจะเล่า 2 00:00:02,133 --> 00:00:04,800 แหล่งกำเนิดของพีชคณิต 3 00:00:04,800 --> 00:00:07,019 มันเกิดที่ไหน 4 00:00:07,019 --> 00:00:08,533 และคำศัพท์นี้ 5 00:00:08,533 --> 00:00:10,667 ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับแนวคิด 6 00:00:10,667 --> 00:00:12,733 พีชคณิต 7 00:00:12,733 --> 00:00:15,689 มาจากหนังสือเล่มนี้ 8 00:00:15,689 --> 00:00:18,667 ตรงนี้หน้าหนึ่งของหนังสือเล่มนี้ 9 00:00:18,667 --> 00:00:20,800 แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า 10 00:00:20,800 --> 00:00:25,662 เจาะลึกเนื้อหาการคำนวณด้วย ความสมบูรณ์และสมดุล 11 00:00:25,667 --> 00:00:28,800 เขียนโดยนักคณิตศาสตร์ชาวเปอร์เชีย 12 00:00:28,800 --> 00:00:30,969 ที่อยู่ในเมืองแบกแดด 13 00:00:30,969 --> 00:00:33,615 น่าจะประมาณศตวรรษที่ 8 หรือ 9 14 00:00:33,615 --> 00:00:35,800 ประมาณ ค.ศ. 820 15 00:00:35,800 --> 00:00:37,773 ที่เขาได้เขียนหนังสือนี้ 16 00:00:37,773 --> 00:00:38,695 ค.ศ. 17 00:00:38,695 --> 00:00:41,350 คำว่า Algebra เป็นภาษาอารบิก 18 00:00:41,350 --> 00:00:43,509 นี่คือชื่อหนังสือที่เขาเขียน 19 00:00:43,509 --> 00:00:45,400 ไว้เป็นภาษาอารบิก 20 00:00:45,400 --> 00:00:48,467 พีชคณิต คือ การฟื้นฟู หรือ ทำให้สมบูรณ์ 21 00:00:48,467 --> 00:00:55,084 ฟื้นฟู หรือ ทำให้สมบูรณ์ 22 00:00:55,084 --> 00:00:58,369 คำพวกนี้ถูกแสดงด้วยโอเปอเรชั่น 23 00:00:58,369 --> 00:01:01,667 เหมือนกับใช้บางอย่างข้างหนึ่งของสมการ 24 00:01:01,667 --> 00:01:03,501 เพื่อไปอีกข้างหนึ่งของสมการ 25 00:01:03,501 --> 00:01:06,586 จะเห็นว่าตรงนี้ จริงๆผมไม่รู้ภาษาอารบิก 26 00:01:06,586 --> 00:01:10,400 แต่พอจะเข้าใจว่าภาษาอื่นยืมคำบางอย่าง จากภาษาอารบิก 27 00:01:10,400 --> 00:01:12,230 หรือไม่ก็อารบิกยืมภาษาอื่น 28 00:01:12,230 --> 00:01:14,941 ตรงเขียนว่า แอล คิทตาบ และ 29 00:01:14,941 --> 00:01:18,243 ผมรู้ อูรดู หรือ ฮินดี จากหนังอินเดีย 30 00:01:18,243 --> 00:01:20,130 คำว่า คิทตาบ หมายถึง หนังสือ 31 00:01:20,130 --> 00:01:23,302 ส่วนนี้คือ หนังสือ 32 00:01:23,302 --> 00:01:27,163 Al-Muhktasar แปลว่า ชัดเจน ได้ใจความ 33 00:01:27,163 --> 00:01:29,904 เพราะว่าผมไม่รู้ศัพท์ของคำว่า ชัดเจน แต่น่าจะใช่ 34 00:01:29,904 --> 00:01:36,585 'Hisab' แปลว่าการคำนวณในภาษาฮินดี 35 00:01:36,585 --> 00:01:38,738 "แอลจาเบ้อ" นี่คือรากของมันล่ะ 36 00:01:38,738 --> 00:01:41,021 คำว่า Algrebra มาจากนี่เอง 37 00:01:41,021 --> 00:01:43,533 คำนี้หมายถึง ความสมบูรณ์ 38 00:01:43,533 --> 00:01:46,478 ตรงนี้คือ ความสมบูรณ์ 39 00:01:46,478 --> 00:01:49,715 "Wa Al-Muqabala" 40 00:01:49,715 --> 00:01:52,467 หมายถึง สมดุล 41 00:01:52,467 --> 00:01:55,631 ทำให้สมบูรณ์และสมดุล 42 00:01:55,631 --> 00:01:57,133 ถ้าแปลก็จะได้ความหมายแบบนี้ 43 00:01:57,133 --> 00:01:58,733 แต่ว่าเราไม่ได้มาแปลภาษาอารบิก 44 00:01:58,733 --> 00:02:01,947 แต่หนังสือเล่มนี้ 45 00:02:01,947 --> 00:02:10,624 ตรงนี้คือ "เจาะลึกการคำนวณโดยการ ทำให้สมบูรณ์และสมดุล" 46 00:02:10,624 --> 00:02:12,564 แปลง่ายๆก็แบบนี้ 47 00:02:12,564 --> 00:02:15,412 และนี่คือที่มาของคำว่า Algebra 48 00:02:15,412 --> 00:02:18,146 หนังสือเล่มนี้ก็สำคัญมากๆด้วย 49 00:02:18,146 --> 00:02:21,467 ไม่ใช่เพราะว่ามันจำกัดคำว่า Algrebra 50 00:02:21,467 --> 00:02:25,000 แต่เพราะว่าหลายๆคนมองว่า นี่เป็นครั้งแรก 51 00:02:25,000 --> 00:02:32,000 ที่พีชคณิตได้ใช้แนวทางสมัยใหม่ 52 00:02:32,050 --> 00:02:34,533 แนวคิดการสมดุลของสมการ 53 00:02:34,533 --> 00:02:36,533 สร้างทฤษฎีขึ้น 54 00:02:36,533 --> 00:02:38,995 และไม่ได้แก้ปัญหาแบบเฉพาะหน้า 55 00:02:39,000 --> 00:02:42,800 แต่ เอควาวิสมี ไม่ได้เป็นแรก 56 00:02:42,800 --> 00:02:44,800 อยากจะให้เข้าใจว่าเกิดอะไรขึ้นบ้าง 57 00:02:44,800 --> 00:02:46,800 เขาก็มาอาศัยอยู่ในแบกแดก 58 00:02:46,800 --> 00:02:49,200 อยู่ตรงนี้บนแผนที่โลก ที่นี่ 59 00:02:49,200 --> 00:02:50,667 มีประวัติศาสตร์ทางพีชคณิตเยอะ 60 00:02:50,667 --> 00:02:53,133 เขาอาศัยอยู่ประมาณศตวรรษที่ 8 หรือ 9 61 00:02:53,133 --> 00:02:56,160 จะวาดตารางเวลาให้ดู 62 00:02:56,160 --> 00:02:58,000 จะได้เห็นภาพรวมๆ 63 00:02:58,000 --> 00:03:01,431 นี่ก็คือตารางเวลา 64 00:03:01,431 --> 00:03:05,133 แล้วแต่ว่าคุณนับถือศาสนาหรือเปล่า 65 00:03:05,133 --> 00:03:09,159 วันที่ในปัจจุบันจะเกี่ยวข้องกับวันเกิด ของพระเยซู 66 00:03:09,159 --> 00:03:11,796 ก็คือตรงส่วนนี้ 67 00:03:11,796 --> 00:03:13,704 เขียนไม้กางเขนไว้ 68 00:03:13,704 --> 00:03:15,462 จะได้ดูง่าย ถ้าพูดแบบไม่ใช่ ทางศาสนา 69 00:03:15,462 --> 00:03:18,473 เราเรียกว่า ก่อนยุคปัจจุบัน (before the common era) 70 00:03:18,473 --> 00:03:19,766 ถ้าพูดแบบทางศาสนา 71 00:03:19,766 --> 00:03:20,566 เรียกว่า A.D. 72 00:03:20,566 --> 00:03:22,164 หมายถึง ปีของพระเจ้า 73 00:03:22,164 --> 00:03:25,333 ภาษาละตินเรียกว่า 'Anno Domini' 74 00:03:25,333 --> 00:03:26,434 ปีของพระเจ้า 75 00:03:26,434 --> 00:03:28,950 อ้างอิงตามศาสนาแล้ว 76 00:03:28,950 --> 00:03:30,482 แทนที่จะเรียกว่า ก่อนยุคปัจจุบัน 77 00:03:30,482 --> 00:03:32,433 เรียกว่า 'ก่อนพระเยซู', (B.C.) 78 00:03:32,433 --> 00:03:36,133 ยังไงก็ตาม นี่คือ คศ. 1000 79 00:03:36,133 --> 00:03:37,533 ในยุคปัจจุบัน 80 00:03:37,533 --> 00:03:39,667 นี่คือ คศ. 2000 81 00:03:39,667 --> 00:03:41,652 พวกเราก็อยู่แถวๆนี้ 82 00:03:41,652 --> 00:03:44,831 ตอนนี้เราอยู่ประมาณนี้ 83 00:03:44,831 --> 00:03:48,733 ตรงนี้คือ 1000 ปีก่อนยุคปัจจุบัน 84 00:03:48,733 --> 00:03:52,296 นี่คือ 2000 ปีก่อนยุคปัจจุบัน 85 00:03:52,296 --> 00:03:55,000 หลักฐานแรกสุด ที่เราเจอ 86 00:03:55,000 --> 00:03:56,234 อาจจะมีหลักฐานมากกว่านี้ 87 00:03:56,234 --> 00:03:57,369 ถ้าเราขุดหามากกว่านี้ 88 00:03:57,369 --> 00:03:58,835 เราอาจจะเจอหลักฐานอื่น 89 00:03:58,835 --> 00:04:01,121 จากอารยธรรมและคนอี่นๆ 90 00:04:01,121 --> 00:04:04,569 ที่มีแนวคิดเกี่ยวกับพีชคณิต 91 00:04:04,569 --> 00:04:06,311 แต่หลักฐานแรกที่เราเจอ 92 00:04:06,311 --> 00:04:09,533 เกี่ยวกับพีชคณิตนั้น 93 00:04:09,533 --> 00:04:12,200 มาจาก บาบีลอน 94 00:04:12,200 --> 00:04:14,906 ประมาณ 2000 ปีก่อนยุคปัจจุบัน 95 00:04:14,906 --> 00:04:21,565 ก่อนพระเยซูเกิด ก็ประมาณตรงนี้ 96 00:04:21,565 --> 00:04:23,023 ที่มีค้นพบหินศิลาจารึก 97 00:04:23,023 --> 00:04:24,867 ซึ่งก็แสดงว่าคนสมัยนั้นเริ่ม 98 00:04:24,867 --> 00:04:26,253 ค้นพบพื้นฐานแนวคิดของพีชคณิต 99 00:04:26,253 --> 00:04:27,669 พวกเขาไม่ได้เครื่องหมายแบบเรา 100 00:04:27,669 --> 00:04:31,133 เขาไม่ได้ใช้ตัวเลขแบบเรา 101 00:04:31,133 --> 00:04:33,200 แต่เขาใช้แนวคิดพีชคณิต 102 00:04:33,200 --> 00:04:35,800 ที่เกิดขึ้นในจุดนี้ของโลก 103 00:04:35,800 --> 00:04:38,733 บาลีลอนอยู่ตำแหน่งนี้ 104 00:04:38,733 --> 00:04:42,400 บาลีลอนก็ได้รักษาประเพณีของ สุมีเรีย 105 00:04:42,400 --> 00:04:45,400 พื้นที่ทั้งหมดนี้คือ เมโสโพเตเมีย 106 00:04:45,400 --> 00:04:47,186 ภาษากรีซแปลว่า ระหว่างแม่น้ำ 107 00:04:47,186 --> 00:04:49,733 และนี่คือหลักฐานแรกที่เราค้นพบ 108 00:04:49,733 --> 00:04:51,744 ว่าอารยธรรมนี้ได้เริ่มใช้ 109 00:04:51,744 --> 00:04:54,720 แนวคิดที่เรียกว่าพีชคณิต 110 00:04:54,720 --> 00:04:56,200 ถ้าเราข้ามเวลาไปข้างหน้า 111 00:04:56,200 --> 00:04:58,992 ผมว่าแม้แต่นักประวัติศาสตร์ 112 00:04:58,992 --> 00:05:03,800 ไม่รู้จักทุกคนที่ใช้พีชคณิต 113 00:05:03,800 --> 00:05:08,267 แต่ว่าผลงานเด่นๆทางพีชคณิต 114 00:05:08,267 --> 00:05:11,533 เราเจอที่บาบีลอนเมื่อ 2000 ปีที่แล้ว 115 00:05:11,533 --> 00:05:14,171 เราข้ามไปประมาณ 200-300 A.D 116 00:05:14,171 --> 00:05:15,582 ตรงนี้ 117 00:05:15,582 --> 00:05:18,169 มีชาวกรีซคนหนึ่งที่อาศัยใน อเล็กซานเดีย 118 00:05:18,169 --> 00:05:22,000 ประเทศกรีซอยู่ตรงนี้ แต่เขาอยู่ ที่อเล็กซานเดีย 119 00:05:22,000 --> 00:05:25,041 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรโรมัน 120 00:05:25,041 --> 00:05:28,000 อเล็กซานเดียอยู่ตรงนี้ 121 00:05:28,000 --> 00:05:29,432 เขาชื่อว่า 122 00:05:29,432 --> 00:05:32,041 ไดออฟแพนทีส 123 00:05:32,041 --> 00:05:33,467 ไม่แน่ใจว่าออกเสียงถูกไหม 124 00:05:33,467 --> 00:05:36,867 ไดโอแพนทีส 125 00:05:36,867 --> 00:05:40,244 คนนี้บางครั้งก็ถือว่าเป็นบิดาแห่งพีชคณิต 126 00:05:40,244 --> 00:05:44,508 ก็ยังถกเถียงกันว่าไดโอแพนทิสหรือ แอลคาลริสมิส 127 00:05:44,508 --> 00:05:48,531 ผู้ซึ่งเริ่มใช้แนวคิดการสมดุลของสมการ 128 00:05:48,533 --> 00:05:50,667 และมองคณิตศาสตร์เชิงทฤษฎี 129 00:05:50,667 --> 00:05:53,548 ในขณะที่ไดโอแพนทิสจะมุ่งทำ เฉพาะส่วนหนึ่งของพีชคณิต 130 00:05:53,548 --> 00:05:57,032 แต่ว่าทั้งคู่ก็ยังสู้ชาวบาบีโลเนี่ยนไม่ได้ 131 00:05:57,032 --> 00:05:59,061 แม้ว่าทั้งสองจะมีผลงาน ทางพีชคณิตก็ตาม 132 00:05:59,061 --> 00:06:01,361 ไม่ได้หมายความว่าพวกเขา ขโมยแนวคิดจากบาบีโลเนี่ยน 133 00:06:01,361 --> 00:06:03,733 พวกเขาคิดขึ้นมาเอง 134 00:06:03,733 --> 00:06:06,328 ผลงานเหล่านี้คือพีชคณิต 135 00:06:06,328 --> 00:06:08,733 แต่ว่านักประวัติศาสตร์ตะวันตก 136 00:06:08,733 --> 00:06:11,282 จะให้ไดโอแพสทิสเป็นบิดาแห่ง พีชคณิต 137 00:06:11,282 --> 00:06:13,816 สำหรับแอลคาลริสมิส ก็มีคนเถียง 138 00:06:13,816 --> 00:06:16,212 กันว่าเขาน่าจะเป็นบิดาแห่งพีชคณิตมากกว่า 139 00:06:16,212 --> 00:06:18,352 เพราะว่าเขามีผลงานมากกว่า 140 00:06:18,352 --> 00:06:20,347 ถ้าเราไปยังปี 600 A.D. 141 00:06:20,347 --> 00:06:22,221 ไปยังปี 600 A.D. 142 00:06:22,221 --> 00:06:26,067 มีนักคณิตศาสตร์ที่สำคัญอีกท่าน 143 00:06:26,067 --> 00:06:29,800 ก็คือ บรามา กุปตา ชาวอินเดีย 144 00:06:29,800 --> 00:06:32,667 บรามา กุปตา ชาวอินเดีย 145 00:06:32,667 --> 00:06:34,692 แต่ผมไม่รู้ว่าเขาอยู่ 146 00:06:34,692 --> 00:06:36,431 ตรงไหนของอินเดีย 147 00:06:36,431 --> 00:06:39,161 แต่ก็อยู่ประมาณตรงนี้บนแผนที่โลก 148 00:06:39,161 --> 00:06:42,733 เขาก็มีผลงานหลักๆเช่นกัน 149 00:06:42,733 --> 00:06:45,768 และแอลคาลริสมิส 150 00:06:45,768 --> 00:06:48,667 ก็มีผลงานประมาณช่วงนี้ 151 00:06:48,667 --> 00:06:52,513 แอลคาลริสมิส แน่นอนว่า 152 00:06:52,513 --> 00:06:56,329 เราให้เกียรติเขาในฐานะ ผู้เริ่มใช้คำว่า Algebra 153 00:06:56,329 --> 00:06:57,862 เป็นคำอารบิกที่แปลว่าฟื้นฟู 154 00:06:57,862 --> 00:07:01,841 และหลายคนก็คิดว่าคนๆนี้แหละ 155 00:07:01,841 --> 00:07:04,118 ถ้าไม่ใช่บิดาแห่งพีชคณิต 156 00:07:04,118 --> 00:07:05,892 ก็เป็นหนึ่งในผู้คิดค้นพีชคณิต 157 00:07:05,892 --> 00:07:09,278 เพราะว่าเขาคิดค้นทฤษฎีทาง พีชคณิต 158 00:07:09,278 --> 00:07:11,025 ทำให้ปัญหาหลายๆอย่าง 159 00:07:11,025 --> 00:07:12,492 แก้ง่ายขึ้น 160 00:07:12,492 --> 00:07:16,800 และนักคณิตศาสตร์สมัยใหม่ก็ได้ สานต่อแนวคิดนี้นั่นเอง