WEBVTT 00:00:07.124 --> 00:00:11.328 ในปี ค.ศ. 1997 การแข่งฟุตบอลระหว่าง ฝรั่งเศสกับบราซิล 00:00:11.328 --> 00:00:14.387 นักเตะวัยหนุ่ม โรเบอร์โต้ คาร์ลอส (Roberto Carlos) 00:00:14.387 --> 00:00:17.502 ได้เตะลูกโทษที่ระยะ 35 เมตร 00:00:17.502 --> 00:00:19.554 โดยไม่มีช่องให้ยิงประตูได้ตรง ๆ 00:00:19.554 --> 00:00:23.859 คาร์ลอสตัดสินใจเตะลูกโทษที่ไม่น่าเป็นไปได้ 00:00:23.859 --> 00:00:27.068 เขาเตะหลบกำแพงฝ่ายตรงข้าม 00:00:27.068 --> 00:00:30.960 แต่แทนที่บอลจะพุ่งออกกรอบประตู มันกลับโค้งกลับมาทางซ้าย 00:00:30.960 --> 00:00:33.082 และเข้าประตูไปอย่างสวยงาม 00:00:33.082 --> 00:00:35.877 กฎการเคลื่อนที่ข้อแรกของนิวตันกล่าวไว้ว่า 00:00:35.877 --> 00:00:39.246 วัตถุจะเคลื่อนที่ไปทิศทางเดียวกับความเร็ว 00:00:39.246 --> 00:00:42.077 นอกจากมีแรงอื่นมากระทำ 00:00:42.077 --> 00:00:45.931 ตอนที่คาร์ลอสยิงประตู เขาได้กำหนดทิศทางกับความเร็วให้บอล 00:00:45.931 --> 00:00:48.696 แล้วอะไรที่ทำให้ลูกบอลเปลี่ยนทิศทาง 00:00:48.696 --> 00:00:53.577 จนได้ประตูที่มหัศจรรย์ที่สุด ในประวัติศาสตร์ของกีฬานี้ล่ะ? 00:00:53.577 --> 00:00:55.828 เคล็ดลับคือการปั่น 00:00:55.828 --> 00:00:59.515 คาร์ลอสใช้เท้าเตะที่มุมขวา ด้านล่างของลูกบอล 00:00:59.515 --> 00:01:05.142 มันลอยขึ้นสูงไปทางขวา แต่หมุนรอบตัวเองไปด้วย 00:01:05.142 --> 00:01:08.223 ลูกบอลเริ่มลอยไปตรงอย่างเห็นได้ชัด 00:01:08.223 --> 00:01:12.053 แต่อากาศที่กระทบทั้งสองด้าน ทำให้ลูกบอลวิ่งช้าลง 00:01:12.053 --> 00:01:16.989 ในด้านหนึ่งอากาศเคลื่อนที่ในทาง ตรงกันข้ามกับการหมุน 00:01:16.989 --> 00:01:18.890 ทำให้มีความดันสูงขึ้น 00:01:18.890 --> 00:01:23.036 อีกด้านหนึ่งอากาศเคลื่อนที่ในทางเดียวกับ กับการหมุน 00:01:23.036 --> 00:01:26.114 ทำให้ความดันต่ำลง 00:01:26.114 --> 00:01:30.929 ความดันที่ต่างกันทำให้ลูกฟุตบอล โค้งไปยังด้านที่ความดันต่ำกว่า 00:01:30.929 --> 00:01:34.302 ปรากฎการณ์แบบนี้เรียกว่า ปรากฏการณ์แมกนัส (Magnus effect) 00:01:34.302 --> 00:01:37.673 การเตะแบบนี้ มักจะถูกเรียกว่า การเตะไซด์โค้ง (Banana kick) 00:01:37.673 --> 00:01:39.529 มักถูกใช้อยู่เป็นประจำ 00:01:39.529 --> 00:01:43.581 และเป็นหนึ่งในส่วนประกอบ ที่ทำให้การแข่งขันนั้นสวยงามยิ่งขึ้น 00:01:43.581 --> 00:01:45.932 แต่การเตะลูกบอลให้โค้ง อย่างแม่นยำตามที่ต้องการ 00:01:45.932 --> 00:01:51.061 อ้อมทั้งกำแพงฝ่ายตรงข้าม และเลี้ยวเข้าประตูอีกครั้งเป็นเรื่องยาก 00:01:51.061 --> 00:01:53.314 สูงเกินไปบอลก็จะลอยเหนือประตู 00:01:53.314 --> 00:01:56.587 ต่ำเกินไปบอลจะตกพื้นสนามก่อนเริ่มโค้งได้ 00:01:56.587 --> 00:01:59.093 โค้งมากไปบอลจะอ้อมเลยประตู 00:01:59.093 --> 00:02:02.591 โค้งน้อยไปก็ชนกำแพงที่ฝ่ายตรงข้าม ตั้งแนวกันไว้ 00:02:02.591 --> 00:02:06.068 ช้าเกินไปก็อาจจะไม่โค้งเลย 00:02:06.068 --> 00:02:09.088 เร็วเกินไปก็ตีโค้งช้าเกินไป 00:02:09.088 --> 00:02:10.978 หลักการฟิสิกส์แบบเดียวกัน 00:02:10.978 --> 00:02:14.386 สามารถใช้อธิบาย การทำประตูอีกแบบที่แทบเป็นไปไม่ได้ 00:02:14.386 --> 00:02:17.504 การทำประตูจากลูกเตะมุม 00:02:17.504 --> 00:02:21.032 ปรากฎการณ์แม็กนัสได้ถูกอธิบายครั้งแรก โดยเซอร์ไอแซก นิวตัน (Isaac Newton) 00:02:21.032 --> 00:02:26.261 จากการสังเกตขณะเล่นเทนนิส ย้อนหลังไปในปี 1670 00:02:26.261 --> 00:02:30.217 มันสามารถถูกปรับใช้ กับลูกกอล์ฟ จานร่อน และเบสบอลได้ 00:02:30.217 --> 00:02:33.138 ในทุกกรณี สิ่งที่เกิดขึ้นเหมือน ๆ กัน 00:02:33.138 --> 00:02:37.634 การหมุนของลูกสร้างความดันที่แตกต่างกันขึ้น 00:02:37.634 --> 00:02:40.651 ทำให้เกิดลูกหมุนโค้งจากทิศทางเดิม 00:02:40.651 --> 00:02:41.972 ตอนนี้ลองตอบคำถาม 00:02:41.972 --> 00:02:44.448 ตามหลักทฤษฏี คุณสามารถที่จะเตะบอลได้แรงมาก 00:02:44.448 --> 00:02:48.292 จนลูกฟุตบอลย้อนกลับมาคุณได้หรือไม่ (แบบการขว้างบูมเมอแรง) 00:02:48.292 --> 00:02:50.139 เสียใจด้วย ทำไม่ได้ 00:02:50.139 --> 00:02:52.672 แม้ว่าลูกฟุตบอลจะรับแรงนั้นได้ 00:02:52.672 --> 00:02:54.311 หรือไม่ได้ชนกับสิ่งกีดขวางใด ๆ 00:02:54.311 --> 00:02:55.786 ในขณะที่อากาศทำให้ลูกบอลช้าลง 00:02:55.786 --> 00:02:58.897 มุมของมันจะถูกเบี่ยงเบนมากขึ้น 00:02:58.897 --> 00:03:02.658 ทำให้มันโค้งเป็นวงเล็กลง ๆ 00:03:02.658 --> 00:03:05.287 จนหยุดนิ่ง 00:03:05.287 --> 00:03:07.026 และเพื่อที่จะได้วงเกลียวเช่นนี้ 00:03:07.026 --> 00:03:11.103 คุณต้องให้มันหมุนเร็วกว่าเดิม จากลูกเตะของคาร์ลอส 00:03:11.103 --> 00:03:13.904 ถึง 15 เท่า 00:03:13.904 --> 00:03:16.215 โชคดีกับการฝึกละกันนะ