WEBVTT 00:00:07.026 --> 00:00:10.044 สมมติว่าคุณวางกล้องถ่ายรูป อยู่กับที่ในตำแหน่งเดิมนั้น 00:00:10.044 --> 00:00:11.587 แล้วถ่ายภาพท้องฟ้า 00:00:11.587 --> 00:00:15.040 ในเวลาเดียวกันของทุกวันอยู่ตลอดทั้งปี 00:00:15.040 --> 00:00:18.612 และให้ซ้อนภาพทั้งหมดบนภาพของแต่ละภาพ 00:00:18.612 --> 00:00:21.630 ดวงอาทิตย์จะมีลักษณะเป็นอย่างไร ในภาพที่ซ้อนรวมกันนั้น 00:00:21.630 --> 00:00:23.033 เป็นภาพจุดเดียว 00:00:23.033 --> 00:00:24.711 เป็นภาพเส้นงกลมหรือเปล่า 00:00:24.711 --> 00:00:25.702 ไม่ใช่ทั้งสองอย่าง 00:00:25.702 --> 00:00:28.531 มันค่อนข้างแปลก รูปที่ปรากฏเป็นเลขแปด 00:00:28.531 --> 00:00:30.559 เรียกกันว่า แอนาเล็มมาของดวงอาทิตย์ 00:00:30.559 --> 00:00:32.380 ทำไมล่ะ 00:00:32.380 --> 00:00:35.012 การเคลื่อนที่ของโลกสร้างวัฎจักรสองสามอย่าง 00:00:35.012 --> 00:00:39.318 ประการแรก มันหมุนบนแกนโลก ประมาณหนึ่งรอบในทุก 24 ชั่วโมง 00:00:39.318 --> 00:00:41.982 ซึ่งทำให้เกิดดวงอาทิตย์ขึ้นและดวงอาทิตย์ตก 00:00:41.982 --> 00:00:44.737 ในขณะเดียวกัน มันทำให้เกิดวัฏจักรที่ช้ากว่า 00:00:44.737 --> 00:00:49.817 คือการโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งใช้เวลาโคจรประมาณทุก ๆ 365 วัน 00:00:49.817 --> 00:00:51.071 แต่มีการหักมุม 00:00:51.071 --> 00:00:53.161 เมื่อเทียบกับการโคจรของมัน 00:00:53.161 --> 00:00:57.396 โลกไม่ได้หมุนในแนว ที่มีขั้วโลกเหนือชี้ขึ้นตรง 00:00:57.396 --> 00:01:02.857 แต่แกนของมันหมุนในลักษณะเอียงคงที่ อยู่ที่ 23.4 องศาต่างหากล่ะ 00:01:02.857 --> 00:01:06.842 เรียกว่าแกนเอียงระนาบวงโคจรของโลก หรือค่าของมุมเอียง 00:01:06.842 --> 00:01:09.860 การเอียงที่ 23 องศาอาจดูเหมือนไม่สำคัญ 00:01:09.860 --> 00:01:13.820 แต่นี่เป็นเหตุผลหลักที่ทำให้เรา ได้เห็นฤดูกาลที่แตกต่างกัน 00:01:13.820 --> 00:01:16.695 เนื่องจากแกนยังคงเอียงไปในทิศทางเดียวกัน 00:01:16.695 --> 00:01:19.064 ในขณะที่โลกทำให้เกิดวงโคจรปี 00:01:19.064 --> 00:01:20.781 ที่มีระยะเวลายาวนานในแต่ละปี 00:01:20.781 --> 00:01:24.601 เมื่อครึ่งหนึ่งทางตอนเหนือของโลก ยังคงเอียงไปทางดวงอาทิตย์ 00:01:24.601 --> 00:01:27.200 ในขณะที่ครึ่งทางใต้เอียงออกไป 00:01:27.200 --> 00:01:28.346 และในทางกลับกัน 00:01:28.346 --> 00:01:31.949 สิ่งที่เราเจอก็คือฤดูร้อนและฤดูหนาวนั่นเอง 00:01:31.949 --> 00:01:33.999 ในช่วงฤดูร้อนของซีกโลกหนึ่ง 00:01:33.999 --> 00:01:38.707 ดวงอาทิตย์ปรากฏสูงขึ้นบนท้องฟ้า ซึ่งทำให้กลางวันยาวนานและอบอุ่นขึ้น 00:01:38.707 --> 00:01:40.908 ทั้งนี้มีปีละครั้งที่การเอียงของดวงอาทิตย์ 00:01:40.908 --> 00:01:42.682 มุมระหว่างเส้นศูนย์สูตร 00:01:42.682 --> 00:01:46.691 กับตำแหน่งบนโลก ที่ดวงอาทิตย์ปรากฏอยู่ตรงเหนือศีรษะ 00:01:46.691 --> 00:01:48.464 จะเอียงถึงขีดสูงสุด 00:01:48.464 --> 00:01:53.382 เราเรียกวันนี้ว่าฤดูร้อนอายัน ซึ่งเป็นกลางวันที่ยาวนานที่สุดของปี 00:01:53.382 --> 00:01:57.134 และเป็นหนึ่งวันที่ดวงอาทิตย์ ปรากฏขึ้นสูงสุดบนท้องฟ้า 00:01:57.134 --> 00:01:58.863 ดังนั้นการเอียงของแกนโลก 00:01:58.863 --> 00:02:02.790 อธิบายได้บางส่วนว่าทำไมดวงอาทิตย์ เปลี่ยนตำแหน่งในท้องฟ้า 00:02:02.790 --> 00:02:04.217 และความยาวของแอนาเล็มมา 00:02:04.217 --> 00:02:09.249 เท่ากับ 46.8 องศาเต็ม ของการเบนลงของดวงอาทิตย์ 00:02:09.249 --> 00:02:10.655 ตลอดทั้งปี 00:02:10.655 --> 00:02:13.903 แต่ทำไมถึงมีลักษณะเป็นเลขแปด และไม่ใช่เป็นแค่รูปเส้นตรงเท่านั้น 00:02:13.903 --> 00:02:17.116 นี่เป็นเพราะคุณลักษณะอย่างอื่น ของการปฏิวัติของโลก 00:02:17.116 --> 00:02:19.463 การเยื้องศูนย์กลางของวงโคจร 00:02:19.463 --> 00:02:22.190 การโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ มีลักษณะเป็นวงรี 00:02:22.190 --> 00:02:26.042 ซึ่งระยะทางการโคจรรอบดวงอาทิตย์ มีการเปลี่ยนแปลงที่จุดต่าง ๆ กัน 00:02:26.042 --> 00:02:28.777 การเปลี่ยนแปลงที่สอดคล้องกันของแรงโน้มถ่วง 00:02:28.777 --> 00:02:32.306 เป็นสาเหตุให้โลกเคลื่อนตัว เร็วที่สุดในเดือนมกราคม 00:02:32.306 --> 00:02:34.809 เมื่อถึงจุดที่ใกล้ที่สุดกับดวงอาทิตย์ 00:02:34.809 --> 00:02:36.346 จุดแพริเฮเลียน (perihelion) 00:02:36.346 --> 00:02:40.234 และมีการเคลื่อนตัวช้าที่สุดในเดือนกรกฎาคม เมื่อมันถึงจุดที่ไกลที่สุด 00:02:40.234 --> 00:02:42.616 จุดอเฟเลียน (aphelion) 00:02:42.616 --> 00:02:45.151 การเยื้องศูนย์กลางของวงโคจร หมายถึงเวลาเที่ยงสุริยะ 00:02:45.151 --> 00:02:47.788 ซึ่งเป็นเวลาที่ดวงอาทิตย์ อยู่สูงสุดบนท้องฟ้า 00:02:47.788 --> 00:02:50.968 ไม่ได้เกิด ณ จุดเดิมของวัน 00:02:50.968 --> 00:02:54.410 ดังนั้นนาฬิกาแดดอาจจะร้อนมากเท่ากับ เวลาในอีกสิบหกนาทีต่อมา 00:02:54.410 --> 00:02:58.187 หรือช้ากว่านาฬิกาปกติถึงสิบสี่นาที 00:02:58.187 --> 00:03:04.202 ในความเป็นจริง เวลานาฬิกาและเวลาแดด ตรงกันเพียงปีละสี่ครั้งเท่านั้น 00:03:04.202 --> 00:03:08.620 ความกว้างของแอนาเล็มมาหมายถึง ขอบเขตของความคลาดเคลื่อนนี้ 00:03:08.620 --> 00:03:11.736 แล้วเมื่อหลายปีก่อน ผู้คนรู้เวลาที่ถูกต้องได้อย่างไรกัน 00:03:11.736 --> 00:03:13.635 ส่วนใหญ่ในประวัติศาสตร์มนุษย์ 00:03:13.635 --> 00:03:16.334 การดูเวลาตามตำแหน่งของดวงอาทิตย์ ก็ใกล้เคียงพอสมควรแล้ว 00:03:16.334 --> 00:03:17.844 แต่ในยุคสมัยใหม่ 00:03:17.844 --> 00:03:22.085 ความแตกต่างระหว่างนาฬิกาแดด กับนาฬิกากลไกกลายเป็นเรื่องสำคัญ 00:03:22.085 --> 00:03:25.423 สมการเวลาเกิดขึ้นโดยทอเลมี 00:03:25.423 --> 00:03:28.439 และต่อมาได้มีการปรับใช้ ตามผลงานของโจฮันเนส เคปเลอร์ 00:03:28.439 --> 00:03:34.417 ซึ่งแปลงค่าระหว่างเวลาแดดที่ปรากฏกับ เวลาสำคัญที่เราทั้งหมดต้องพึ่งพา 00:03:34.417 --> 00:03:37.847 แม้แต่บนแผนที่ลูกโลกยังเคยพิมพ์ แอนาเล็มมาไว้บนลูกโลก 00:03:37.847 --> 00:03:40.004 เพื่อให้ผู้คนสามารถกำหนดความแตกต่าง 00:03:40.004 --> 00:03:44.563 ระหว่างเวลานาฬิกากับเวลาแดด ตามวันเวลาของปีได้ 00:03:44.563 --> 00:03:48.679 เพียงแต่วิธีที่แอนาเล็มมาปรากฏนั้น ขึ้นอยู่กับว่าคุณอยู่ที่ไหน 00:03:48.679 --> 00:03:51.759 มันอาจจะเอียงไปที่มุมหนึ่ง ก็ขึ้นอยู่กับละติจูดของคุณ 00:03:51.759 --> 00:03:54.227 หรืออยู่กลับหัวถ้าคุณอยู่ที่ซีกโลกใต้ 00:03:54.227 --> 00:03:55.778 และถ้าคุณอยู่บนดาวเคราะห์ดวงอื่น 00:03:55.778 --> 00:03:58.378 คุณอาจจะพบบางสิ่งบางอย่าง ที่แตกต่างอย่างสิ้นเชิง 00:03:58.378 --> 00:04:01.844 ขึ้นอยู่กับการเยื้องศูนย์กลางของวงโคจร และแกนเอียงของดาวเคราะห์ดวงนั้น 00:04:01.844 --> 00:04:04.351 แอนาเล็มมาอาจจะปรากฏเป็นรูปหยดน้ำตา 00:04:04.351 --> 00:04:05.255 รูปไข่ 00:04:05.255 --> 00:04:07.137 หรือแม้แต่เส้นตรง