WEBVTT 00:00:01.206 --> 00:00:07.125 (เสียงดนตรี) NOTE Paragraph 00:00:14.325 --> 00:00:18.822 นี่คือผึ้งที่อยู่ในสวนของผม ที่เบิร์กลีย์ แคลิฟอร์เนีย 00:00:18.822 --> 00:00:21.221 ผมไม่เคยเลี้ยงผึ้งมาก่อนเลย จนกระทั่งปีที่แล้ว 00:00:21.221 --> 00:00:25.270 เนชันแนล จีโอกราฟิกให้ผมถ่ายรูป ในสารคดีเกี่ยวกับผึ้ง 00:00:25.270 --> 00:00:27.769 และผมก็คิดว่าการที่จะถ่ายรูปผึ้งได้สวยๆ นั้น 00:00:27.769 --> 00:00:30.253 ผมควรเรื่มเลี้ยงผึ้งดูเสียเอง 00:00:30.253 --> 00:00:31.948 และคุณอาจทราบมาก่อนแล้วว่า 00:00:31.948 --> 00:00:34.572 ผึ้งนั้นช่วยผสมเกสร หนึ่งในสามของพืชที่เป็นอาหาร 00:00:34.572 --> 00:00:37.730 และในไม่นานมานี้ ผึ้งนั้นกำลังตกที่นั่งลำบาก 00:00:37.730 --> 00:00:42.281 ในฐานะที่ผมเป็นช่างภาพ ผมอยากจะให้ทุกคนเห็นว่าปัญหามันเป็นอย่างไร 00:00:42.281 --> 00:00:45.466 ดังนั้น ผมจะแสดงให้เห็นว่า ผมค้นพบอะไรมาในช่วงปีที่แล้ว NOTE Paragraph 00:00:46.276 --> 00:00:47.900 เจ้าตัวน้อยขนปุยเหล่านี้ 00:00:47.900 --> 00:00:52.243 คือผึ้งวัยอ่อน ที่กำลังจะออกจากห้องเพาะพันธุ์ในรังผึ้ง 00:00:52.243 --> 00:00:55.283 และตอนนี้พวกผึ้งกำลังเผชิญกับ ปัญหาบางประการ 00:00:55.283 --> 00:00:59.535 อาทิ ยาฆ่าแมลง โรค รวมถึงการสูญเสียถิ่นอาศัย 00:00:59.535 --> 00:01:04.146 แต่ภัยคุกคามที่รุนแรงที่สุดนั้น คือไรปรสิตจากเอเชีย 00:01:04.146 --> 00:01:06.475 เจ้า"วาโรอา" ไรจอมทำลายล้าง 00:01:06.475 --> 00:01:09.354 เจ้าไรตัวเล็กขนาดหัวเข็มหมุดนี้ จะคืบคลานเข้าไปหาตัวอ่อนผึ้ง 00:01:09.354 --> 00:01:11.699 แล้วดูดเลือดของผึ้ง 00:01:11.699 --> 00:01:13.696 ทำให้รังของผึ้งค่อย ๆ ถูกทำลายไป 00:01:13.696 --> 00:01:16.940 เพราะระบบภูมิคุ้มกันของผึ้งจะอ่อนแอลง 00:01:16.940 --> 00:01:20.476 ทำให้เสี่ยงต่อความเครียดและโรคผึ้งมากขึ้น NOTE Paragraph 00:01:21.776 --> 00:01:23.773 ผึ้งนั้นจะอ่อนแอมาก 00:01:23.773 --> 00:01:26.513 ในขณะที่มันเจริญอยู่ในห้องเพาะพันธุ์ในรัง 00:01:26.513 --> 00:01:29.624 และผมก็อยากรู้ว่าการเจริญของผึ้ง ในช่วงนั้นมันเป็นอย่างไร 00:01:29.624 --> 00:01:32.248 ผมเลยร่วมมือกับห้องทดลองผึ้ง ที่มหาวิทยาลัย ยูซี เดวิส 00:01:32.248 --> 00:01:35.343 และหาทางเลี้ยงผึ้งหน้ากล้องให้ได้ 00:01:35.993 --> 00:01:38.981 เดี๋ยวผมจะให้คุณดูว่า ช่วง 21 วันแรกในชีวิตผึ้งเป็นอย่างไร 00:01:38.981 --> 00:01:41.770 โดยย่อมาให้เหลือแค่นาทีเดียวครับ NOTE Paragraph 00:01:43.763 --> 00:01:48.567 นี่คือไข่ของผึ้ง ที่ฟักมาเป็นตัวอ่อน 00:01:48.567 --> 00:01:53.012 และตัวอ่อนที่เพิ่งฟักมานี้ จะว่ายวนอยู่ในห้องของตัวเอง 00:01:53.012 --> 00:01:57.335 กินเมือกสีขาวที่ผึ้งงานหลั่งออกมาให้ 00:01:59.616 --> 00:02:04.159 แล้วหัวกับขาของพวกมัน ก็จะค่อย ๆ พัฒนาออกมา 00:02:04.159 --> 00:02:07.509 เมื่อมันเจริญไปเป็นดักแด้ 00:02:09.833 --> 00:02:11.853 นี่เป็นช่วงที่มันเป็นดักแด้เหมือนกันครับ 00:02:11.853 --> 00:02:15.243 และคุณจะเห็นว่ามีตัวไร วิ่งอยู่ในห้องที่ตัวอ่อนอยู่นี้ด้วย 00:02:15.243 --> 00:02:19.510 แล้วเนื้อเยื่อในร่างกายมันจะจัดเรียงใหม่ 00:02:19.510 --> 00:02:24.115 เม็ดสีจะค่อย ๆ เจริญในตาของผึ้ง 00:02:26.869 --> 00:02:32.757 ช่วงสุดท้ายนี้ ผิวของผึ้งจะย่นขึ้น 00:02:32.757 --> 00:02:35.245 และขนก็จะงอกออกมา 00:02:35.245 --> 00:02:39.237 (เสียงดนตรี) NOTE Paragraph 00:02:48.805 --> 00:02:51.659 (เสียงปรบมือ) NOTE Paragraph 00:02:54.703 --> 00:02:57.907 ตอนครึ่งหนึ่งของวีดีโอที่คุณเห็นนั้น 00:02:57.907 --> 00:03:00.461 ตัวไรวิ่งอยู่รอบ ๆ ตัวอ่อนของผึ้ง 00:03:00.461 --> 00:03:04.390 และวิธีที่เกษตรกรจัดการกับพวกไรนี้ 00:03:04.390 --> 00:03:07.404 คือการใช้สารเคมีกับรังของมันเอง 00:03:07.404 --> 00:03:09.670 ในระยะยาวแล้ว มันไม่ดีแน่ 00:03:09.670 --> 00:03:13.223 ดังนั้นนักวิจัยจึงมองหาทางเลือกอื่น 00:03:13.223 --> 00:03:15.387 ในการควบคุมไรพวกนี้ NOTE Paragraph 00:03:16.195 --> 00:03:18.963 นี่คือหนึ่งในวิธีเหล่านั้นครับ 00:03:18.963 --> 00:03:23.328 ในโครงการทดลองเพาะพันธุ์ผึ้ง ที่ห้องทดลองผึ้งของ อย.สหรัฐในบาตอง โรจ 00:03:23.328 --> 00:03:27.045 นางพญาและผึ้งงานผู้ช่วยเหล่านี้ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ NOTE Paragraph 00:03:27.735 --> 00:03:31.430 ปัจจุบันนี้ นักวิจัยพบแล้วว่า 00:03:31.430 --> 00:03:35.152 ผึ้งบางตัวสามารถจะสู้กับตัวไรได้ 00:03:35.152 --> 00:03:39.322 นักวิจัยจึงลองเพาะพันธุ์ผึ้งต้านไรพวกนี้ขึ้นมา 00:03:40.782 --> 00:03:43.418 นี่คือวิธีที่เราเพาะพันธุ์ผึ้งในห้องทดลอง 00:03:43.418 --> 00:03:46.158 เราทำให้นางพญาสลบ 00:03:46.158 --> 00:03:51.200 แล้วเราก็ใช้การผสมเทียม โดยเครื่องมือที่แม่นยำมาก ๆ 00:03:51.200 --> 00:03:53.478 วิธีการนี้ทำให้นักวิจัย 00:03:53.478 --> 00:03:58.500 สามารถควบคุมพันธุกรรมผึ้งที่ต้องการได้ 00:03:58.500 --> 00:04:01.627 แต่วิธีก็ต้องแลกมาด้วยบางสิ่ง 00:04:01.627 --> 00:04:04.832 นักวิจัยประสบความสำเร็จ ในการสร้างผึ้งที่ต้านไรพวกนี้ 00:04:04.832 --> 00:04:07.920 ในกระบวนการนี้ ผึ้งพวกนี้ ก็จะสูญเสียลักษณะบางอย่างไปด้วย 00:04:07.920 --> 00:04:11.685 อย่างเช่นความเชื่อง หรือความสามารถในการเก็บน้ำผึ้งในรัง 00:04:11.685 --> 00:04:14.194 เพื่อจะแก้ปัญหาเหล่านี้ 00:04:14.194 --> 00:04:17.742 เหล่านักวิจัยได้ร่วมมือกับเกษตรกรฟาร์มผึ้งพานิชย์ 00:04:18.252 --> 00:04:23.120 นี่คือคุณเบรท เอดี กับรังผึ้ง 72,000 รังของเขา 00:04:23.120 --> 00:04:27.750 เบรทกับน้องชายทำธุรกิจเลี้ยงผึ้ง ที่ใหญ่ที่สุดในโลก 00:04:27.750 --> 00:04:33.409 และ อย.สหรัฐก็ได้ให้ผึ้งต้านไร เข้าไปอยู่ร่วมกับฝูงผึ้งของเขา 00:04:33.409 --> 00:04:35.052 ด้วยความหวังว่าเมื่อเวลาผ่านไป 00:04:35.052 --> 00:04:38.723 พวกเขาจะสามารถคัดเลือก ผึ้งที่ไม่เพียงแต่ต้านไร 00:04:38.723 --> 00:04:43.707 แต่ยังมีลักษณะที่เราต้องการอื่น ๆ หลงเหลืออยู่ด้วย NOTE Paragraph 00:04:44.165 --> 00:04:45.860 การที่พูดอย่างนั้น 00:04:45.860 --> 00:04:49.157 มันดูเหมือนว่าเราใช้งาน ใช้ประโยชน์จากผึ้งมากเกินไป 00:04:49.157 --> 00:04:52.593 แต่ความจริงก็คือ เราทำเช่นนั้นกันมาเป็นพัน ๆ ปีแล้ว 00:04:52.593 --> 00:04:57.747 เราเอาเจ้าผึ้งพวกนี้ ใส่ลงในกล่อง 00:04:57.747 --> 00:04:59.861 ทำการเลี้ยงมัน 00:04:59.861 --> 00:05:03.970 และนั่นคือวิธีตั้งแต่สมัยโบราณ ที่เราใช้เก็บน้ำผึ้ง 00:05:03.970 --> 00:05:06.725 แต่เมื่อเวลาผ่านไป เราเริ่มสูญเสียเหล่าผู้ผสมเกสรพื้นบ้าน 00:05:06.725 --> 00:05:08.420 ผึ้งป่าผู้ผสมเกสรเหล่านี้ 00:05:08.420 --> 00:05:11.485 และปัจจุบันมีหลายแห่งบนโลก ที่เหล่าผึ้งป่า 00:05:11.485 --> 00:05:15.284 ไม่สามารถที่จะทนต่อมลพิษ ของการทำเกษตรสมัยใหม่ได้ 00:05:15.284 --> 00:05:20.508 ดังนั้นพวกผึ้งที่เราเลี้ยงจึงกลายมาเป็น ส่วนหนึ่งของการสร้างอาหารของเรา NOTE Paragraph 00:05:20.508 --> 00:05:23.227 ฉะนั้น เมื่อคนพูดถึงการรักษาพันธุ์ผึ้ง 00:05:23.227 --> 00:05:25.360 การตีความของผมต่อสิ่งนี้ก็คือ 00:05:25.360 --> 00:05:28.588 เราต้องรักษาสายสัมพันธ์อันดีกับผึ้งเหล่านี้ไว้ 00:05:28.588 --> 00:05:33.592 และเพื่อที่จะวางแนวทางใหม่ในการแก้ปัญหานี้ 00:05:33.592 --> 00:05:38.693 เราต้องเข้าใจถึงชีววิทยาพื้นฐานของผึ้งเสียก่อน 00:05:38.693 --> 00:05:44.936 และต้องทราบถึงปัจจัยภัยคุกคาม ของผึ้งที่เรามักมองข้ามไปด้วย 00:05:45.909 --> 00:05:49.114 หรืออาจกล่าวได้ ว่าเราต้องเข้าใจในผึ้งอย่างเจาะลึกนั่นเอง NOTE Paragraph 00:05:49.114 --> 00:05:51.384 ขอบคุณครับ NOTE Paragraph 00:05:51.384 --> 00:05:53.198 (เสียงปรบมือ)