WEBVTT 00:00:00.553 --> 00:00:04.395 เพราะภาพหนึ่งภาพเป็นมากกว่าคำนับพัน 00:00:04.395 --> 00:00:06.522 ผมจึงอยากเริ่มการบรรยายของผม 00:00:06.522 --> 00:00:09.190 โดยหยุดบรรยายแล้วให้คุณชมภาพสักสองสามภาพ 00:00:09.190 --> 00:00:12.357 ที่ผมได้ถ่ายไว้เมื่อเร็วๆ นี้ NOTE Paragraph 00:00:30.712 --> 00:00:34.742 ครับ ถึงตอนนี้ การบรรยายของผมก็มีความยาว 6,000 คำแล้ว 00:00:34.742 --> 00:00:36.890 และผมรู้สึกว่าผมควรหยุดตรงนี้แล้วล่ะ NOTE Paragraph 00:00:36.890 --> 00:00:39.310 (เสียงหัวเราะ) NOTE Paragraph 00:00:39.310 --> 00:00:41.131 แต่ในขณะเดียวกัน ผมอาจติดค้างคุณ 00:00:41.131 --> 00:00:42.137 เรื่องการอธิบาย 00:00:42.137 --> 00:00:45.240 เกี่ยวกับภาพเหล่านี้ที่คุณเพิ่งได้ชมไป 00:00:45.240 --> 00:00:47.963 ที่ผมพยายามจะทำในฐานะนักถ่ายภาพ 00:00:47.963 --> 00:00:50.446 ในฐานะศิลปิน คือการนำโลก 00:00:50.446 --> 00:00:53.823 แห่งศาสตร์และศิลป์มาพบกัน 00:00:53.823 --> 00:00:56.162 ไม่ว่ามันจะเป็นภาพของฟองสบู่ 00:00:56.162 --> 00:00:58.928 ที่ถ่ายไว้ ณ วินาทีที่มันกำลังแตก 00:00:58.928 --> 00:01:01.400 ขณะที่คุณกำลังจ้องมองภาพนี้ 00:01:01.400 --> 00:01:04.008 ไม่ว่ามันจะเป็นเอกภพที่สร้างสรรค์ด้วยหยดเล็กๆ 00:01:04.008 --> 00:01:06.506 ของสีน้ำมัน 00:01:06.506 --> 00:01:10.849 ของเหลวประหลาดที่มีทำตัวแสนพิลึก 00:01:10.849 --> 00:01:15.115 หรือภาพเขียนที่วาดโดยแรงเหวี่ยงหนีศูนย์ 00:01:15.115 --> 00:01:19.081 ผมพยายามเสมอที่จะ เชื่อมโยงสองสาขาวิชานั้นเข้าด้วยกัน NOTE Paragraph 00:01:19.081 --> 00:01:21.471 ที่ผมพบว่ามันทรงสเน่ห์เหลือกันสำหรับสองสิ่งนั้น 00:01:21.471 --> 00:01:24.750 ก็คือ พวกมันทั้งสองนั้นมองไปยังสิ่งเดียวกัน 00:01:24.750 --> 00:01:27.574 พวกมันคือการตอบสนองต่อสิ่งที่อยู่รอบๆ 00:01:27.574 --> 00:01:31.467 แต่กระนั้น พวกมันตอบสนองด้วยวิถีที่ต่างกันมาก 00:01:31.467 --> 00:01:33.514 ถ้าคุณดูที่วิทยาศาสตร์ที่อยู่ข้างหนึ่ง 00:01:33.514 --> 00:01:36.937 วิทยาศาสตร์นั้นมีหลักเกณฑ์เหตุผลมาก 00:01:36.937 --> 00:01:38.418 ในการปฏิบัติต่อสิ่งแวดล้อมรอบมัน 00:01:38.418 --> 00:01:40.507 ในขณะที่ศิลปะที่อยู่อีกข้างหนึ่ง 00:01:40.507 --> 00:01:44.810 มักจะตอบสนองสิ่งแวดล้อมด้วยความรู้สึกและอารมณ์ 00:01:44.810 --> 00:01:46.827 ที่ผมพยายามทำก็คือ ผมพยายามที่จะ 00:01:46.827 --> 00:01:49.468 นำวิสัยทัศน์ทั้งสองนี้มาผสานรวมเป็นหนึ่ง 00:01:49.468 --> 00:01:53.418 เพื่อที่ภาพของผมจะถ่ายทอดสื่อสารไปถึงหัวใจของผู้ชม 00:01:53.418 --> 00:01:56.612 และไปยังสมองของพวกเขาด้วยเช่นกัน 00:01:56.612 --> 00:02:01.278 อนุญาตให้ผมสาธิตสิ่งนี้บนรากฐานของสามโครงการ NOTE Paragraph 00:02:01.278 --> 00:02:06.332 โครงการแรกเกี่ยวข้องกับการทำให้เสียงเป็นที่มองเห็นได้ 00:02:06.332 --> 00:02:07.350 อย่างที่คุณทราบ 00:02:07.350 --> 00:02:09.976 เสียงเดินทางในรูปแบบคลื่น 00:02:09.976 --> 00:02:12.299 ฉะนั้น ถ้าคุณมีลำโพง 00:02:12.299 --> 00:02:14.348 อันที่จริง ลำโพงนั้นไม่ได้ทำอะไร 00:02:14.348 --> 00:02:16.232 นอกเหนือไปจากรับสัญญาณเสียง 00:02:16.232 --> 00:02:19.829 แล้วเปลี่ยนมันไปเป็นการสั่นสะเทือน 00:02:19.829 --> 00:02:22.530 ซึ่งจากนั้นมันถูกส่งผ่านมาทางอากาศ 00:02:22.530 --> 00:02:24.392 แล้วหูคุณก็จะได้ยินเสียงนั้น 00:02:24.392 --> 00:02:27.933 และเปลี่ยนมันไปอยู่ในรูปสัญญาณเสียงอีกครั้ง 00:02:27.933 --> 00:02:29.779 ผมก็มาคิดว่า 00:02:29.779 --> 00:02:33.999 จะทำให้คลื่นเสียงเหล่านี้ถูกมองเห็นได้อย่างไร 00:02:33.999 --> 00:02:36.115 แล้วผมก็ได้ความคิดที่จะจัดการดังนี้ 00:02:36.115 --> 00:02:39.835 ผมนำลำโพงมา ผมวางแผ่นฟอยล์พลาสติกบางๆ 00:02:39.835 --> 00:02:42.070 บนลำโพงนั้น 00:02:42.070 --> 00:02:44.737 และจากนั้น ผมวางคริสตัลเล็กๆ ลงไป 00:02:44.737 --> 00:02:46.714 บนลำโพงนั้น 00:02:46.714 --> 00:02:49.614 และทีนี้ ถ้าผมเปิดเสียงผ่านลำโพง 00:02:49.614 --> 00:02:53.496 มันจะทำให้คริสตัลเคลื่อนขึ้นลง 00:02:53.496 --> 00:02:55.795 ทีนี้ มันเกิดขึ้นเร็วมากๆ 00:02:55.795 --> 00:02:57.747 ในชั่วพริบตา 00:02:57.747 --> 00:03:01.434 ด้วยความร่วมมือจาก LG เราจับการเคลื่อนไหว 00:03:01.434 --> 00:03:03.120 ด้วยกล้องที่สามารถ 00:03:03.120 --> 00:03:06.595 จับความเคลื่อนไหวได้มากกว่า 3,000 ภาพต่อวินาที 00:03:06.595 --> 00:03:10.068 ให้ผมได้แสดงให้คุณชมว่ามันเป็นอย่างไร NOTE Paragraph 00:03:10.068 --> 00:03:15.435 (เสียงดนตรี: เพลง "Teardrop" ร้องโดย Massive Attack) NOTE Paragraph 00:03:51.406 --> 00:03:56.724 (เสียงปรบมือ) NOTE Paragraph 00:03:56.724 --> 00:03:57.987 ขอบคุณมากครับ 00:03:57.987 --> 00:04:01.231 ผมเห็นด้วยว่า มันดูสวยงามน่าทึ่ง NOTE Paragraph 00:04:01.231 --> 00:04:03.590 แต่ผมต้องบอกคุณถึงเรื่องตลกๆ ซะหน่อย 00:04:03.590 --> 00:04:06.104 ผมถูกแดดเผาซะเกรียมในร่ม 00:04:06.104 --> 00:04:08.152 ระหว่างที่ถ่ายทำในลอส แองเจลิส 00:04:08.152 --> 00:04:10.427 ที่ลอส แองเจลิส คุณถูกแดดเผาแบบจริงจังได้ 00:04:10.427 --> 00:04:12.153 แค่ไปอยู่ที่หาดใดสักหาด 00:04:12.153 --> 00:04:14.223 แต่ผมถูกแดดเผาในร่ม 00:04:14.223 --> 00:04:15.932 และที่มันเกิดขึ้นก็คือ 00:04:15.932 --> 00:04:18.753 ถ้าคุณถ่ายทำด้วยความเร็ว 3,000 ภาพต่อวินาที 00:04:18.753 --> 00:04:23.242 คุณต้องการแสงที่สว่างเป็นอย่างยิ่ง แสงเยอะมากๆ 00:04:23.242 --> 00:04:25.771 คุณต้องมีลำโพงนี้จัดเตรียมไว้ 00:04:25.771 --> 00:04:27.370 และเราก็มีกล้องที่หันหน้าไปทางมัน 00:04:27.370 --> 00:04:30.756 และแสงที่ระดมยิงไปยังลำโพง 00:04:30.756 --> 00:04:32.111 และผมก็จะจัดวางลำโพง 00:04:32.111 --> 00:04:35.157 นำคริสตัลเล็กๆวางไว้บนนั้น 00:04:35.157 --> 00:04:37.978 และเราก็จะทำเช่นนี้ซ้ำแล้วซ้ำอีก 00:04:37.978 --> 00:04:40.739 เมื่อถึงตอนกลางวัน ผมถึงได้รู้ว่า 00:04:40.739 --> 00:04:43.076 หน้าผมนั้นแดงไปหมด 00:04:43.076 --> 00:04:46.162 เพราะว่าแสงที่ส่องลงมายังลำโพง 00:04:46.162 --> 00:04:48.468 ที่มันตลกก็คือ 00:04:48.468 --> 00:04:51.195 ลำโพงนั้นอยู่ทางด้านขวา 00:04:51.195 --> 00:04:54.562 ฉะนั้นหน้าผมทางด้านขวาก็เลยแดงไปหมด 00:04:54.562 --> 00:04:56.404 และผมก็เลยดูเหมือน เดอะ แฟนท่อม ออฟ ดิ โอเปร่า (the Phantom of the Opera) 00:04:56.404 --> 00:04:59.246 ไปทั้งสัปดาห์ NOTE Paragraph 00:04:59.246 --> 00:05:01.349 ตอนนี้ให้ผมจะเปลี่ยนไปพูดถึงอีกงานหนึ่ง 00:05:01.349 --> 00:05:04.869 ซึ่งเกี่ยวข้องกับสสารที่อันตรายน้อยกว่า 00:05:07.852 --> 00:05:11.492 มีใครเคยได้ยินเกี่ยวกับ แม่เหล็กเหลว (ferrofluid) ไหมครับ 00:05:11.492 --> 00:05:14.014 อ้า บางคนเคย เยี่ยมเลยครับ 00:05:14.014 --> 00:05:15.891 งั้นผมข้ามไปเลยดีไหมครับ NOTE Paragraph 00:05:15.891 --> 00:05:17.473 (เสียงหัวเราะ) NOTE Paragraph 00:05:17.473 --> 00:05:20.736 แม่เหล็กเหลวมีพฤติกรรมน่าประหลาดมาก 00:05:20.736 --> 00:05:22.988 มันเป็นของเหลวที่ดำสนิท 00:05:22.988 --> 00:05:25.482 มีความเหนียวข้นแบบน้ำมัน 00:05:25.482 --> 00:05:28.942 และมันก็มีอนุภาคของโลหะเล็กๆ อยู่ในนั้น 00:05:28.942 --> 00:05:31.081 ซึ่งทำให้มันมีคุณสมบัติเป็นแม่เหล็ก 00:05:31.081 --> 00:05:34.634 ถ้าตอนนี้ผมเอาของเหลวนี้เข้าไปในสนามแม่เหล็ก 00:05:34.634 --> 00:05:37.427 มันจะเปลี่ยนรูปร่างไป NOTE Paragraph 00:05:37.427 --> 00:05:41.222 ทีนี้ ผมมีการสาธิตสดมาครับ 00:05:41.222 --> 00:05:43.798 เพื่อที่จะแสดงให้คุณดู 00:05:47.533 --> 00:05:50.486 ผมมีกล้องที่มองลงไปยังถาดนี้ 00:05:50.486 --> 00:05:54.014 และใต้ถาดนั้น มีแม่เหล็กอยู่ 00:05:54.014 --> 00:05:57.006 ทีนี้ ผมกำลังจะใส่แม่เหล็กเหลวนี้ลงไป 00:05:57.006 --> 00:06:00.310 บนแม่เหล็ก NOTE Paragraph 00:06:05.609 --> 00:06:09.738 ลองเลื่อนมันไปทางขวาหน่อย 00:06:13.330 --> 00:06:18.088 และบางทีปรับโฟกัสมันอีกนิด เยี่ยมเลย NOTE Paragraph 00:06:18.088 --> 00:06:20.281 ครับ ที่คุณเห็นตอนนี้ 00:06:20.281 --> 00:06:22.678 ก็คือแม่เหล็กเหลวที่ก่อตัวเป็นลักษณะหนามๆ 00:06:22.678 --> 00:06:26.031 นี่เป็นเพราะการเหนี่ยวนำและแรงดัน 00:06:26.031 --> 00:06:29.740 ของแต่ละอนุภาคในของเหลว 00:06:29.740 --> 00:06:31.983 นี่มันก็ค่อนข้างน่าสนใจแล้ว 00:06:31.983 --> 00:06:35.537 แต่ให้ผมลองเติมสีน้ำลงไปสักหน่อย 00:06:35.537 --> 00:06:37.991 พวกมันเป็นแค่สีน้ำธรรมดา 00:06:37.991 --> 00:06:39.622 ที่คุณใช้วาดรูปแหละครับ 00:06:39.622 --> 00:06:40.965 คุณคงจะไม่วาดภาพด้วยเข็มฉีดยาหรอก 00:06:40.965 --> 00:06:45.953 แต่มันก็ใช้งานได้เหมือนกัน 00:06:58.798 --> 00:07:00.910 ครับ ตอนนี้ 00:07:00.910 --> 00:07:04.154 เมื่อสีน้ำไหลเข้าไปในโครงสร้าง 00:07:04.154 --> 00:07:07.505 สีน้ำไม่ผสมรวมตัวกับแม่เหล็กเหลว 00:07:07.505 --> 00:07:09.841 นั่นเป็นเพราะว่าตัวแม่เหล็กเหลวนั้น 00:07:09.841 --> 00:07:12.024 เป็นพวกไม่เปียกน้ำ (hydrophobic) 00:07:12.024 --> 00:07:14.187 นั่นหมายความว่ามันไม่รวมตัวกับน้ำ 00:07:14.187 --> 00:07:17.196 และในขณะเดียวกัน มันพยายามที่จะรักษาตำแหน่ง 00:07:17.196 --> 00:07:18.561 เหนือแม่เหล็ก 00:07:18.561 --> 00:07:21.956 และดังนั้น มันสร้างโครงสร้างที่ดูน่าทึ่ง 00:07:21.956 --> 00:07:25.289 ของลำคลองและบ่อน้ำเล็กๆ 00:07:25.289 --> 00:07:27.869 ของสีน้ำหลากสี 00:07:27.869 --> 00:07:29.620 นั่นเป็นโครงการที่สองครับ NOTE Paragraph 00:07:29.620 --> 00:07:31.972 ให้ผมพูดถึงโครงการสุดท้ายนะครับ 00:07:31.972 --> 00:07:36.744 ซึ่งมันเกี่ยวกับ 00:07:36.744 --> 00:07:38.834 เครื่องดื่มประจำชาติของสกอตแลนด์ 00:07:38.834 --> 00:07:41.154 (เสียงหัวเราะ) NOTE Paragraph 00:07:41.154 --> 00:07:45.074 ในภาพนี้ และเจ้านี่ด้วย 00:07:45.074 --> 00:07:48.345 ทำขึ้นมาจากการใช้วิสกี้ 00:07:48.345 --> 00:07:49.835 ตอนนี้ คุณอาจถามตัวเองว่า 00:07:49.835 --> 00:07:50.863 เขาทำได้ยังไงกันหน่ะ 00:07:50.863 --> 00:07:52.712 เขาดื่มวิสกี้เข้าไปครึ่งขวด 00:07:52.712 --> 00:07:55.423 และจากนั้นวาดภาพหลอนที่เขาได้ 00:07:55.423 --> 00:07:59.037 จากอาการเมา ลงบนกระดาษหรือเปล่า 00:07:59.037 --> 00:08:01.281 ผมบอกคุณได้ว่า ผมมีสติสัมปชัญญะครบสมบูรณ์ 00:08:01.281 --> 00:08:04.391 ระหว่างที่ผมถ่ายภาพเหล่านี้ NOTE Paragraph 00:08:04.391 --> 00:08:08.493 เอาล่ะ วิสกี้มีส่วนประกอบ 40 เปอร์เซ็นต์เป็นแอลกอฮอล์ 00:08:08.493 --> 00:08:12.729 และแอลกอฮอล์มีคุณสมบัติบางอย่างที่น่าสนใจมาก 00:08:12.729 --> 00:08:14.420 บางทีคุณมีประสบการณ์ 00:08:14.420 --> 00:08:16.546 เกี่ยวกับคุณสมบัติพวกนี้มาก่อนแล้ว 00:08:16.546 --> 00:08:19.265 แต่ผมกำลังพูดถึงคุณสมบัติทางกายภาพนะครับ 00:08:19.265 --> 00:08:21.500 ไม่ใช่อีกอันหนึ่ง 00:08:21.500 --> 00:08:25.700 เมื่อผมเปิดขวด โมเลกุลของแอลกอฮอล์ 00:08:25.700 --> 00:08:27.043 จะแพร่ออกไปในอากาศ 00:08:27.043 --> 00:08:31.123 และนั่นเป็นเพราะว่าแอลกอฮอล์นั้น เป็นสสารที่ระเหยเป็นไอได้อย่างรวดเร็ว 00:08:31.123 --> 00:08:35.810 และในขณะเดียวกัน แอลกอฮอล์ก็ไวไฟมาก 00:08:35.810 --> 00:08:37.959 และด้วยคุณสมบัติทั้งสองนี้ 00:08:37.959 --> 00:08:40.564 ทำให้ผมสามารถสร้างสรรค์ภาพ 00:08:40.564 --> 00:08:42.594 ที่คุณเห็นในขณะนี้ NOTE Paragraph 00:08:42.594 --> 00:08:46.065 ให้ผมสาธิตให้คุณได้ชมตรงนี้ 00:08:52.709 --> 00:08:56.027 และที่ผมมีตรงนี้เป็นขวดเปล่า 00:08:56.027 --> 00:08:57.336 ที่ไม่มีอะไรข้างในเลย 00:08:57.336 --> 00:09:01.144 และตอนนี้ ผมกำลังจะเติมออกซิเจน 00:09:01.144 --> 00:09:03.825 และวิสกี้เข้าไป 00:09:19.962 --> 00:09:22.915 เติมอีกนิด 00:09:26.171 --> 00:09:28.186 เอาล่ะ ผมจะรอสักสองสามวินาที 00:09:28.186 --> 00:09:31.233 เพื่อที่โมเลกุลเหล่านี้จะได้แพร่ไปในขวด 00:09:31.233 --> 00:09:33.630 และทีนี้ มาจุดไฟกันเลย NOTE Paragraph 00:09:33.630 --> 00:09:38.340 (เสียงหัวเราะ) NOTE Paragraph 00:09:51.740 --> 00:09:53.278 ครับ นั่นล่ะครับทั้งหมด 00:09:53.278 --> 00:09:56.477 มันเกิดขึ้นเร็วมาก และมันไม่ค่อยจะน่าประทับใจเท่าไร 00:09:56.477 --> 00:09:59.083 ผมทำอีกทีก็ได้ครับ 00:09:59.083 --> 00:10:01.814 แต่บางท่านคงแย้งว่านี่มันเปลืองวิสกี้จริงๆ 00:10:01.814 --> 00:10:05.666 และผมน่าจะดื่มมันมากกว่า NOTE Paragraph 00:10:05.666 --> 00:10:07.754 แต่ให้ผมได้แสดงภาพช้า 00:10:07.754 --> 00:10:09.449 ในห้องที่มืดสนิท 00:10:09.449 --> 00:10:14.699 ของสิ่งที่ผมได้เพิ่งแสดงให้คุณดูในการสาธิตสดนี้ 00:10:21.605 --> 00:10:24.338 ที่เกิดขึ้นก็คือ เปลวไฟ 00:10:24.338 --> 00:10:28.330 เดินทางผ่านขวดแก้วจากบนลงล่าง 00:10:28.330 --> 00:10:31.379 เผาไหม้ส่วนผสมของโมเลกุลอากาศ 00:10:31.379 --> 00:10:33.208 และแอลกอฮอล์ 00:10:33.208 --> 00:10:36.024 ดังนั้น ภาพที่คุณเห็นเมื่อตอนต้น 00:10:36.024 --> 00:10:40.368 ที่จริงแล้ว พวกมันคือภาพเปลวไฟที่หยุด ณ เวลาหนึ่งๆ 00:10:40.368 --> 00:10:42.846 ขณะที่มันเดินทางไปทั่วขวด 00:10:42.846 --> 00:10:44.064 และคุณต้องจินตนาการเข้าช่วยด้วย 00:10:44.064 --> 00:10:47.530 เพราะภาพถูกกลับหัวไป 180 องศา 00:10:47.530 --> 00:10:49.968 ภาพนั้นโดนสร้างมาด้วยวิธีนี้ล่ะครับ NOTE Paragraph 00:10:49.968 --> 00:10:54.324 (เสียงปรบมือ) NOTE Paragraph 00:10:54.324 --> 00:10:57.097 ขอบคุณครับ NOTE Paragraph 00:10:57.097 --> 00:11:00.180 ถึงตอนนี้ ผมได้แสดงให้คุณดูไปถึงสามโครงการ 00:11:00.180 --> 00:11:02.832 และคุณอาจถามตัวเองว่า แล้วมันมีประโยชน์อะไรกัน 00:11:02.832 --> 00:11:04.423 อะไรเป็นแนวคิดสนับสนุนของสิ่งนี้ 00:11:04.423 --> 00:11:05.756 นี่มันแค่เปลืองวิสกี้ใช่ไหม 00:11:05.756 --> 00:11:09.981 นี่มันแค่วัสดุประหลาดๆ หรือเปล่า 00:11:09.981 --> 00:11:12.794 โครงการทั้งสามนั้น พวกมันอยู่บนฐาน 00:11:12.794 --> 00:11:14.456 ของปรากฏการณ์วิทยาศาสตร์ง่ายๆ 00:11:14.456 --> 00:11:17.197 เช่นปรากฏการณ์แม่เหล็ก คลื่นเสียง 00:11:17.197 --> 00:11:21.239 และตรงนี้ คุณสมบัติทางกายภาพของสสาร 00:11:21.239 --> 00:11:23.151 และที่ผมพยายามจะทำ 00:11:23.151 --> 00:11:26.300 ก็คือ ผมพยายามที่จะใช้ปรากฏการณ์เหล่านี้ 00:11:26.300 --> 00:11:29.417 และแสดงพวกมันในวิถีที่สุนทรีย์และยังไม่มีมาก่อน 00:11:29.417 --> 00:11:31.836 ซึ่งมันจะเชิญชวนให้ผู้ชม 00:11:31.836 --> 00:11:33.736 หยุดสักวินาที 00:11:33.736 --> 00:11:36.451 และคิดถึงความงามทั้งหมด 00:11:36.451 --> 00:11:40.394 ที่อยู่รอบๆ เราเสมอมา NOTE Paragraph 00:11:40.394 --> 00:11:41.823 ขอบคุณมากครับ NOTE Paragraph 00:11:41.823 --> 00:11:46.316 (เสียงปรบมือ)