WEBVTT 00:00:07.366 --> 00:00:11.939 ท่อนคอรัสเล่นซ้ำกันกี่ครั้ง ในเพลงโปรดของคุณ 00:00:11.939 --> 00:00:16.572 และ ลองคิดสักนิดสิ ว่าคุณฟังไปแล้วกี่ครั้ง 00:00:16.572 --> 00:00:21.519 เป็นไปได้ว่าคุณได้ยินมันเล่นซ้ำๆ เป็นโหล ไม่ก็คงเป็นร้อยหน 00:00:21.519 --> 00:00:25.239 และไม่ใช่แค่เพลงดังๆ ของฝรั่งเท่านั้น ที่เล่นซ้ำไปซ้ำมา 00:00:25.239 --> 00:00:30.792 การทำซ้ำเป็นส่วนหนึ่ง ที่ดนตรีหลากวัฒนธรรมมีอยู่ร่วมกัน 00:00:30.792 --> 00:00:34.455 แล้วทำไมดนตรีจึงมีการทำซ้ำๆ มากเหลือเกิน 00:00:34.455 --> 00:00:39.937 ส่วนหนึ่งของคำตอบมาจากสิ่งที่นักจิตวิทยาเรียกว่า ผลกระทบการสัมผัสแท้ๆ (mere-exposure effect) 00:00:39.937 --> 00:00:44.084 ง่ายๆ ก็คือ คนมักจะชอบ สิ่งที่พวกเขาเคยสัมผัสมาก่อน 00:00:44.084 --> 00:00:48.135 ยกตัวอย่างเช่น เพลงที่ได้ยินทางวิทยุ ที่เราไม่ได้ชอบสักเท่าไร 00:00:48.135 --> 00:00:51.421 แต่เมื่อเราได้ยินเพลงนั้นที่ร้านขายของ ในโรงหนัง 00:00:51.421 --> 00:00:53.606 และได้ยินอีกบนท้องถนน 00:00:53.606 --> 00:00:56.311 ไม่นาน เราก็ติดอยู่ในจังหวะ ร้องเนื้อร้อง 00:00:56.311 --> 00:00:58.555 หรือแม้แต่ดาวโหลดเพลงนั้นมา 00:00:58.555 --> 00:01:02.135 ผลกระทบการสัมผัสแท้นี้ ไม่ได้เกิดกับเพลงเท่านั้น 00:01:02.135 --> 00:01:06.164 มันยังคงใช้ได้กับทุกอย่าง ตั้งแต่รูปร่าง ไปจนถึงโฆษณาซุปเปอร์โบว์ 00:01:06.164 --> 00:01:10.016 แล้วอะไรที่ทำให้การทำซ้ำ มีอย่างแพร่หลายเป็นเอกลักษณ์ในดนตรี 00:01:10.016 --> 00:01:14.505 เพื่อที่จะทำการสอบสวน นักจิตวิทยาถามคนที่ฟังองค์ประกอบทางดนตรี 00:01:14.505 --> 00:01:16.960 ที่หลีกเลี่ยงการทำซ้ำ 00:01:16.960 --> 00:01:20.281 พวกเขาได้ยินส่วนตัดทอนจากเพลงเหล่านี้ ในแบบต้นฉบับ 00:01:20.281 --> 00:01:24.623 หรือในแบบที่ถูกดัดแปลงโดยดิจิตัล เพื่อเพิ่มท่อนซ้ำ 00:01:24.623 --> 00:01:26.675 แม้ว่าแบบต้นฉบับจะถูกแต่งโดย 00:01:26.675 --> 00:01:29.726 นักแต่งเพลงที่ได้รับความนับถือมากที่สุด ในศตวรรษที่ 20 00:01:29.726 --> 00:01:33.984 และแบบที่มีการซ้ำได้ถูกรวมขึ้นมา โดยการแก้ไขเสียงแบบปู้ยี่ปู้ยำ 00:01:33.984 --> 00:01:38.647 คนให้คะแนนแบบที่มีท่อนซ้ำ ว่าเพราะกว่า น่าสนใจกว่า 00:01:38.647 --> 00:01:43.250 และน่าจะถูกแต่งโดยศิลปินที่เป็นคนมากกว่า 00:01:43.250 --> 00:01:45.718 การทำซ้ำทางดนตรีเป็นที่น่าสนใจมาก 00:01:45.718 --> 00:01:48.894 ลองคิดถึงเพลงสุดคลาสสิกของมัพเพทส์ "มาห์นา มาห์นา" 00:01:48.894 --> 00:01:49.979 ถ้าคุณได้ยินมันมาก่อน 00:01:49.979 --> 00:01:53.181 คงแทบจะเป็นไปไม่ได้ที่หลังจากผมร้องว่า "มาห์นา มาห์นา" 00:01:53.181 --> 00:01:56.547 คุณจะไม่ร้องตอบว่า "ดุ ดู ดุ๊ ดู ดุ" 00:01:56.547 --> 00:01:58.451 การทำซ้ำเชื่อมต่อแต่ละส่วนของดนตรี 00:01:58.451 --> 00:02:02.092 เข้ากับส่วนถัดไปของดนตรีที่ตามมา อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ 00:02:02.092 --> 00:02:06.122 ดังนั้นเมื่อคุณได้ยินโน้ตบางตัว คุณก็คิดแล้วว่าตัวถัดไปเป็นอะไร 00:02:06.122 --> 00:02:08.366 สมองของคุณร้องตามไปโดยไม่ได้คิด 00:02:08.366 --> 00:02:11.609 และคุณอาจเริ่มฮัมเพลงออกเสียงโดยไม่ได้สังเกต 00:02:11.609 --> 00:02:15.383 การศึกษเร็วๆ นี้ได้แสดงให้เห็นว่า เมื่อคนได้ยินส่วนของดนตรีที่ซ้ำๆ 00:02:15.383 --> 00:02:18.287 พวกเขามักจะเคลื่อนไหวหรือเคาะตามจังหวะ 00:02:18.287 --> 00:02:22.630 การทำซ้ำๆ เชื้อเชิญเราเข้าไปในดนตรี ราวกับผู้เข้าร่วมตามแผน 00:02:22.630 --> 00:02:25.081 แทนที่จะเป็นผู้รับฟัง 00:02:25.081 --> 00:02:26.622 การวิจัยแสดงให้เห็นว่า 00:02:26.622 --> 00:02:30.410 ผู้ฟังเคลื่อนความสนใจของพวกเขา ไปตามการทำช้ำทางดนตรี 00:02:30.410 --> 00:02:34.136 ให้ความสนใจในมุมมองที่ต่างไป ของเสียงในแต่ละครั้งที่ฟัง 00:02:34.136 --> 00:02:36.970 คุณอาจสังเกตว่าทำนองของท่อนนั้น ในหนแรก 00:02:36.970 --> 00:02:41.971 แต่เมื่อฟังซ้ำ ความสนใจของคุณย้ายไปยัง นักกีตาร์ที่โหนเสียง 00:02:41.971 --> 00:02:46.183 มันยังเกิดขึ้นในภาษาด้วยสิ่งที่เรียกว่า ความอิ่มใจในความหมาย 00:02:46.183 --> 00:02:48.984 การพูดคำซ้ำๆ อย่าง แอทลาส แอด นอว์เซียม 00:02:48.984 --> 00:02:52.002 อาจทำให้คุณหยุดคิดว่ามันหมายถึงอะไร 00:02:52.002 --> 00:02:57.073 แล้วมาให้ความสนใจกับเสียง: ที่แปลกดีเมื่อ L ตาม T 00:02:57.073 --> 00:03:00.086 ด้วยวิธีนี้ การทำซ้ำสามารถเปิดโลกแห่งเสียง 00:03:00.086 --> 00:03:02.853 ที่เข้าถึงไม่ได้เมื่อฟังในครั้งแรก 00:03:02.853 --> 00:03:07.203 L ตาม T อาจ ไม่ได้เกี่ยวข้องกันอย่างสวยงาม กับ แอทลาส 00:03:07.203 --> 00:03:11.492 แต่เสียงที่นักกีต้าโหนอาจมีความสำคัญ ในการแสดงออก 00:03:11.492 --> 00:03:13.960 คำพูดที่กลายมาเป็นมายาเพลง แสดงให้เห็นว่า มันง่ายดายแค่ไหน 00:03:13.960 --> 00:03:17.639 ที่การกล่าวประโยคซ้ำๆ กันหลายครั้ง จะเบนความสนใจผู้ฟัง 00:03:17.639 --> 00:03:20.690 ไปยังระดับเสียงและจังหวะของเสียง 00:03:20.690 --> 00:03:22.371 ดังนั้นภาษาพูดที่ย้ำซ้ำๆ 00:03:22.371 --> 00:03:26.144 จึงเริ่มที่จะฟังคล้ายกับว่ามันถูกร้องออกมา 00:03:26.144 --> 00:03:29.185 ปรากฏการณ์คล้ายๆ กันเกิดขึ้น กับลำดับเสียงแบบสุ่ม 00:03:29.185 --> 00:03:33.430 ผู้คนจะให้คะแนนกับลำดับเสียงแบบสุ่ม ที่พวกเขาเคยได้ยินมาก่อน 00:03:33.430 --> 00:03:37.624 มากกว่าลำดับเสียงแบบสุ่ม ที่พวกเขาได้ยินเป็นหนแรก 00:03:37.624 --> 00:03:41.181 การทำซ้ำให้รูปแบบการจัดเรียงกับเสียง 00:03:41.181 --> 00:03:46.063 ที่เราคิดในรูปแบบของทำนองดนตรีที่ชัดเจน ที่เราฟังคลอไปพร้อมกับเสียง 00:03:46.063 --> 00:03:49.632 ที่เข้ามาเชื่อมอย่างมีจินตนาการกับโน้ตดนตรี ที่กำลังจะตามมา 00:03:49.632 --> 00:03:54.150 วิธีการฟังสัมพันธ์กับความไวของหูเรา ต่อเสียงดนตรี 00:03:54.150 --> 00:03:56.660 ในบริเวณที่เสียงดนตรีผ่านเข้าไปในสมอง 00:03:56.660 --> 00:04:00.089 และเล่นซ้ำแล้วซ้ำเล่า ราวกับว่ามันติดอยู่ซ้ำๆ 00:04:00.089 --> 00:04:03.109 นักวิจารณ์มักจะอายกับการซ้ำ ของดนตรี 00:04:03.109 --> 00:04:05.382 และบอกว่ามันเด็กๆ หรือไม่มีอะไรพัฒนา 00:04:05.382 --> 00:04:09.752 แต่การทำซ้ำนั้น ไม่ได้ใกล้เคียงกับความอับอายเลย ที่จริงแล้วมันเป็นปัจจัยสำคัญ 00:04:09.752 --> 00:04:14.109 ที่ทำให้เกิดรูปแบบของประสบการณ์ ที่เกี่ยวกับดนตรี