WEBVTT 00:00:06.769 --> 00:00:10.508 เรื่องเก่าเล่าว่า นักธนูมือฉมังในตำนาน "วิลเลียม เทล" 00:00:10.508 --> 00:00:13.977 ถูกบังคับให้รับคำท้าที่แสนจะโหดร้าย จากขุนนางผู้ฉ้อฉล 00:00:15.370 --> 00:00:17.558 ลูกชายของวิลเลี่ยมจะถูกประหารชีวิต 00:00:17.568 --> 00:00:21.122 เว้นเสียแต่ว่าวิลเลียมจะสามารถยิง ลูกแอปเปิ้ลบนศีรษะลูกเขาได้ 00:00:21.959 --> 00:00:26.498 วิลเลี่ยมทำได้สำเร็จ แต่สมมุติว่า เรื่องราวนี้มีรายละเอียดได้สองแบบ 00:00:26.933 --> 00:00:28.573 ในแบบแรก 00:00:28.573 --> 00:00:32.158 ขุนนางท่านนั้นจ้างโจร มาขโมยธนูคู่ใจของวิลเลียมไป 00:00:32.550 --> 00:00:36.821 เขาจึงต้องไปขอยืมธนู คุณภาพต่ำจากชาวนา 00:00:37.341 --> 00:00:41.071 แต่อย่างไรก็ตาม ธนูที่ยืมมาก็ใช้การได้ไม่ค่อยถนัด 00:00:41.357 --> 00:00:43.446 และวิลเลียมก็พบว่าลูกธนูจากการฝึกยิง 00:00:43.446 --> 00:00:47.752 กระจายอยู่ในบริเวณที่ต่ำกว่ากลางเป้า 00:00:47.761 --> 00:00:52.608 โชคดีที่วิลเลียมนั้นยังมีเวลาปรับแก้ ก่อนมันจะสายเกินไป 00:00:52.608 --> 00:00:54.372 ในแบบที่สอง 00:00:54.372 --> 00:00:58.805 วิลเลียมเริ่มสงสัยในทักษะของเขา ก่อนที่จะถึงเวลาท้าประลอง 00:00:58.805 --> 00:01:01.502 และมือเขาเริ่มสั่น 00:01:01.502 --> 00:01:04.619 ลูกธนูจากการฝึกยิง ยังคงอยู่กลุ่มรอบ ๆ แอปเปิ้ล 00:01:04.619 --> 00:01:06.677 แต่อยู่ในรูปแบบที่ไม่แน่นอน 00:01:06.677 --> 00:01:08.732 บางครั้ง เขายิงโดนแอปเปิ้ล 00:01:08.732 --> 00:01:12.619 แต่ด้วยอาการสั่น ไม่มีอะไรจะรับประกันได้ว่าเขาจะยิงตรงเป้า 00:01:12.619 --> 00:01:14.512 จนเขาต้องแก้ปัญหามือที่สั่นนั่น 00:01:14.512 --> 00:01:19.201 และทำให้การเล็งเป้ามีความแน่นอน เพื่อที่จะช่วยลูกชายของเขา 00:01:19.201 --> 00:01:23.639 หัวใจของสองกรณีที่แตกต่างกันนี้ มีคำศัพท์ที่ใช้แทนกันได้อยู่สองคำ 00:01:23.639 --> 00:01:26.369 ความแม่นตรงและความแม่นยำ 00:01:26.369 --> 00:01:27.942 ความแตกต่างระหว่างสองคำนี้ 00:01:27.942 --> 00:01:31.517 มีความสำคัญอย่างมาก สำหรับ การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์มากมาย 00:01:31.517 --> 00:01:35.501 ความแม่นตรงเกี่ยวข้องกับว่า คุณเข้าใกล้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องแค่ไหน 00:01:35.501 --> 00:01:39.636 ความแม่นตรงของคุณจะเพิ่มขึ้น เมื่อใช้ อุปกรณ์ที่ถูกปรับค่ามาตรฐานมาอย่างถูกต้อง 00:01:39.636 --> 00:01:42.013 และเป็นอุปกรณ์ที่คุณมีความคุ้นเคย กับมันเป็นอย่างดี 00:01:42.013 --> 00:01:43.714 ในทางตรงกันข้ามความแม่นตรง 00:01:43.714 --> 00:01:48.212 คือความคงเส้นคงวาของผลลัพธ์ที่ได้ เมื่อใช้วิธีเดียวกัน 00:01:48.212 --> 00:01:52.034 ความแม่นตรงจะเพิ่มขึ้น เมื่อความปราณีตของเครื่องมือนั้นเพิ่มขึ้น 00:01:52.034 --> 00:01:54.511 ซึ่งทำให้ความต้องการ ในการประมาณค่าลดลง 00:01:54.511 --> 00:01:59.327 เรื่องเล่าของธนูที่ถูกขโมยเกี่ยวข้อง กับความแม่นยำแต่ไม่มีความแม่นตรง 00:01:59.327 --> 00:02:02.888 วิลเลียมได้ผลลัพธ์ที่ผิดพลาดซ้ำ ๆ กัน ทุก ๆ ครั้งที่เขายิง 00:02:02.888 --> 00:02:08.065 เรื่องราวที่วิลเลียมมือสั่นคือตัวอย่าง ของความแม่นตรงที่ไม่มีความแม่นยำ 00:02:08.065 --> 00:02:11.241 ลูกธนูอยู่เป็นกลุ่มรอบ ๆ ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง 00:02:11.241 --> 00:02:15.449 แต่ไม่มีความแน่นอนว่าจะเข้าเป้า สำหรับการยิงในครั้งใด ๆ ก็ตาม 00:02:15.449 --> 00:02:18.179 คุณเอาตัวรอดได้จากความแม่นตรงที่ต่ำ 00:02:18.179 --> 00:02:21.076 หรือความแม่นยำที่ต่ำ ในการดำเนินชีวิตประจำวัน 00:02:21.076 --> 00:02:24.580 แต่บ่อยครั้งเหล่าวิศวกรและนักวิจัย ต้องการความแม่นตรง 00:02:24.580 --> 00:02:30.262 ในระดับที่ละเอียดมาก และความแน่นอนว่า จะต้องถูกต้องในทุก ๆ ครั้ง 00:02:30.262 --> 00:02:32.772 โรงงานและห้องปฏิบัติการ เพิ่มความแม่นยำ 00:02:32.772 --> 00:02:36.128 ด้วยอุปกรณ์ที่ดีกว่า และขั้นตอนการที่มีรายละเอียดมากกว่า 00:02:36.128 --> 00:02:39.170 การปรับปรุงเหล่านี้อาจมีราคาสูง ดังนั้นผู้จัดการจะต้องตัดสินใจ 00:02:39.170 --> 00:02:44.013 ว่าความไม่แน่นอนที่ยอมรับได้ ของแต่ละโครงการนั้นคือเท่าไร 00:02:44.013 --> 00:02:46.098 อย่างไรก็ตาม การลงทุนในความแม่นยำนั้น 00:02:46.098 --> 00:02:49.317 สามารถพาเราไปได้ไกลได้มากกว่าที่เคย 00:02:49.317 --> 00:02:51.532 อาจไกลถึงดาวอังคาร 00:02:51.532 --> 00:02:54.551 คุณอาจแปลกใจ ที่นาซ่าไม่ได้รู้อย่างแน่ชัดว่า 00:02:54.551 --> 00:02:58.535 ยานสำรวจของเขาจะลงจอด บนดาวเคราะห์อีกดวงในตำแหน่งใด 00:02:58.535 --> 00:03:02.484 การคาดคะเนว่ามันจะลงจอดตรงไหน ต้องใช้การคำนวณมากมาย 00:03:02.484 --> 00:03:06.247 ที่ได้จากการวัด ที่ไม่ได้ให้คำตอบที่แม่นยำเสมอไป 00:03:06.247 --> 00:03:11.254 ความหนาแน่นชั้นบรรยากาศที่ดาวอังคาร เปลี่ยนแปลงที่ระดับความสูงต่าง ๆ อย่างไร 00:03:11.254 --> 00:03:13.675 ยานสำรวจจะแตะบรรยากาศ ด้วยองศาเท่าไหร่ 00:03:13.689 --> 00:03:17.237 ความเร็วของยานสำรวจตอนเริ่มเข้า สู่ชั้นบรรยากาศของดาวจะเป็นเท่าไหร่ 00:03:17.237 --> 00:03:20.764 คอมพิวเตอร์จำลองการจอด ในแบบต่าง ๆ หลายพันแบบ 00:03:20.764 --> 00:03:24.391 ผสมผสานและเทียบค่าต่าง ๆ สำหรับตัวแปรทั้งหมด 00:03:24.391 --> 00:03:26.058 ถ่วงน้ำหนักความเป็นไปได้ทั้งหมด 00:03:26.058 --> 00:03:29.439 คอมพิวเตอร์บอกพื้นที่การลงจอดที่เป็นไปได้ 00:03:29.439 --> 00:03:32.840 ในรูปแบบวงรีการลงจอด 00:03:32.840 --> 00:03:37.528 ในปี ค.ศ. 1976 วงรีการลงจอด สำหรับยานมาร์ส ไวกิง แลนเดอร์ 00:03:37.528 --> 00:03:44.336 คือ 62 x 174 ไมล์ ซึ่งมีพื้นที่ใกล้เคียงกับรัฐนิวเจอร์ซี 00:03:44.336 --> 00:03:45.918 ด้วยข้อจำกัดต่าง ๆ 00:03:45.918 --> 00:03:50.608 ทำให้นาซ่าจำเป็นต้องละทิ้งพื้นที่การลงจอด ที่น่าสนใจแต่มีความเสี่ยง 00:03:50.608 --> 00:03:53.975 ตั้งแต่นั้นมา ข้อมูลใหม่ ๆ เกี่ยวกับชั้นบรรยากาศของดาวอังคาร 00:03:53.975 --> 00:03:56.451 ช่วยปรับปรุงเทคโนโลยีอากาศยาน 00:03:56.451 --> 00:04:02.333 และการจำลองทางคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพ มากขึ้น ก็ลดความไม่แน่นอนลดลงอย่างมาก 00:04:02.333 --> 00:04:06.186 ในปี ค.ศ. 2012 วงรีการลงจอด ของยานคิวริออสซิที แลนเดอร์ 00:04:06.186 --> 00:04:10.046 กว้างแค่ 4 ไมล์ และยาว 12 ไมล์ 00:04:10.046 --> 00:04:14.251 มีพื้นที่เล็กกว่าของยานไวกิงราว 200 เท่า 00:04:14.251 --> 00:04:18.492 สิ่งนี้ทำให้นาซ่าระบุตำแหน่งลงจอด ในปล่องภูเขาไฟเกลได้อย่างแม่นยำ 00:04:18.492 --> 00:04:23.341 ซึ่งเป็นจุดที่ไม่เคยลงจอดมาก่อน และน่าทำการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ 00:04:23.341 --> 00:04:26.199 ขณะที่พวกเราพยายามความแม่นตรงสูงสุด 00:04:26.199 --> 00:04:30.480 ความแม่นยำแสดงให้เห็นถึงความแน่นอน ของการทำให้ได้มันมาอย่างน่าเชื่อถือ 00:04:30.480 --> 00:04:32.501 ด้วยหลักการทั้งสองนี้ 00:04:32.509 --> 00:04:34.022 เราสามารถมุ่งไปหาดวงดาว 00:04:34.022 --> 00:04:36.592 และมีความมั่นใจว่าจะไปถึงมันได้ในทุกครั้ง