Return to Video

สัญชาตญาณเรื่องสมการแม่นตรง 2 (ไม่เชิงพิสูจน์)

  • 0:00 - 0:01
    -
  • 0:01 - 0:04
    ในวิดีโอที่แล้ว ผมได้แนะนำแนวคิดเรื่อง กฏลูกโซ่
  • 0:04 - 0:06
    ใช้กับอนุพันธ์ย่อยไป
  • 0:06 - 0:10
    และเราบอกว่า, อืม, ถ้าผมมีฟังก์ชัน, ไซ, ตัวอักษรกรีก,
  • 0:10 - 0:14
    ไซ, มันเป็นฟังก์ชันของ x กับ y
  • 0:14 - 0:17
    และถ้าผมอยากหาอนุพันธ์ย่อยของเจ้านี่, เทียบกับ
  • 0:17 - 0:19
    -- ไม่สิ, ผมอยากหาอนุพันธ์, ไม่ใช่อนุพันธ์ย่อย --
  • 0:19 - 0:23
    อนุพันธ์ของเจ้านี่, เทียบกับ x, นี่จะเท่ากับ
  • 0:23 - 0:30
    อนุพันธ์ย่อยของไซ, เทียบกับ x, บวกอนุพันธ์ย่อย
  • 0:30 - 0:35
    ของไซ, เทียบกับ y, คูณ dy, dx
  • 0:35 - 0:38
    และในวิดีโอที่แล้ว ผมไม่ได้พิสูจน์ให้คุณดู, แต่
  • 0:38 - 0:40
    ผมหวังว่าคุณจะได้สัญชาตญาณพอ จนคุณ
  • 0:40 - 0:41
    เชื่อผมแล้ว
  • 0:41 - 0:43
    แต่บางที ผมอาจจะพิสูจน์ให้รัดกุม
  • 0:43 - 0:46
    กว่านี้ในอนาคต, แต่คุณสามารถหาบทพิสูจน์ในเว็บต่างๆ ได้ ถ้าคุณ
  • 0:46 - 0:50
    สนใจ, หากฏลูกโซ่กับอนุพันธ์ย่อยดู
  • 0:50 - 0:53
    ลองพักเรื่องนั้นไว้ แล้วสำรวจสมบัติอีกอย่างหนึ่ง
  • 0:53 - 0:56
    ของอนุพันธ์ย่อยกัน, แล้วเราจะได้เข้าใจสัญชาตญาณ
  • 0:56 - 0:57
    เบื่องหลังสมการแม่นตรง
  • 0:57 - 0:59
    เพราะคุณจะพบว่า, การแก้สมการแม่นตรง
  • 0:59 - 1:02
    เป็นเรื่องตรงไปตรงมา, แต่สัญชาตญาณมักจะยุ่ง
  • 1:02 - 1:05
    -- อืม, ผมไม่อยากบอกว่ายาก, เพราะถ้าคุณ
  • 1:05 - 1:07
    ได้สัญชาตญาณแล้ว, คุณก็ได้ไปเลย
  • 1:07 - 1:11
    แล้วถ้าผมบอกว่า, อย่างเช่น, ฟังก์ชันนี้, ไซ, และผมอยากหา
  • 1:11 - 1:17
    อนุพันธ์ย่อยของไซ, เทียบกับ x, อันแรก
  • 1:17 - 1:18
    ผมจะเขียนว่า ไซ
  • 1:18 - 1:20
    ผมไม่อยากเขียน x กับ y ทุกครั้ง
  • 1:20 - 1:23
    แล้วผมหาอนุพันธ์ย่อยเทียบ
  • 1:23 - 1:25
    กับ y
  • 1:25 - 1:29
    -
  • 1:29 - 1:33
    ตามสัญลักษณ์, อันนี้คุณสามารถเขียนเป็น, คุณสามาร
  • 1:33 - 1:35
    มองมันเหมือนกับคุณคูณโอเปอเรเตอร์เข้าไป, มัน
  • 1:35 - 1:36
    จึงสามารถเขียนแบบนี้ได้
  • 1:36 - 1:42
    อนุพันธ์ย่อย เดล กำลังสอง คูณ ไซ, หรือเดลกำลังสอง ไซ, ส่วน
  • 1:42 - 1:48
    เดล y เดล, หรือ d โค้ง x
  • 1:48 - 1:50
    และนั่นสามารถเขียนได้เป็น -- และนี่เป็นสัญลักษณ์
  • 1:50 - 1:53
    ที่ผมชอบ, เพราะมันไม่มีทิ้งอะไร
  • 1:53 - 1:54
    เกะกะไปหมด
  • 1:54 - 1:56
    คุณก็บอกได้ว่า, อนุพันธ์ย่อย, เราหาอนุพันธ์ย่อย,
  • 1:56 - 2:00
    เทียบกับ x ก่อน. นั่นก็หมายความว่าอนุพันธ์ย่อยของ
  • 2:00 - 2:01
    ไซ, เทียบกับ x
  • 2:01 - 2:04
    แล้วเราก็หาอนุพันธ์ย่อย, เทียบกับ y
  • 2:04 - 2:06
    นั่นคือกรณีแรกที่ต้องคิด
  • 2:06 - 2:08
    เกิดอะไรขึ้นเมื่อเราหาอนุพันธ์ย่อย, เทียบกับ x, แล้ว
  • 2:08 - 2:09
    ค่อยเทียบกับ y?
  • 2:09 - 2:13
    ตอนเทียบกับ x, คุณจับ y คงที่เพื่อให้
  • 2:13 - 2:14
    ได้อนุพันธ์ย่อย, เทียบกับ x
  • 2:14 - 2:15
    ไม่สน y ตรงนี้
  • 2:15 - 2:17
    แล้วคุณก็จับ x คงที่, แล้วคุณ
  • 2:17 - 2:19
    ก็หาอนุพันธ์ย่อย, เทียบกับ y
  • 2:19 - 2:21
    แล้วมันต่างกันไหม ถ้าเราสลับ
  • 2:21 - 2:22
    ลำดับ?
  • 2:22 - 2:25
    เกิดอะไรขึ้นถ้าเรา -- ผมจะใช้อีกสีนะ
  • 2:25 - 2:30
    -- ถ้าเรามี ไซ, และเราหาอนุพันธ์ย่อย,
  • 2:30 - 2:34
    เทียบกับ y ก่อน, แล้วเราค่อยหาอนุพันธ์ย่อย,
  • 2:34 - 2:37
    เทียบกับ x?
  • 2:37 - 2:41
    มันแค่่สัญลักษณ์, เพื่อให้คุณคุ้นเคยกับมัน,
  • 2:41 - 2:45
    มันก็คือ -- อนุพันธ์ย่อย x, อนุพันธ์ย่อย y
  • 2:45 - 2:46
    และนี่คือโอเปอเรเตอร์
  • 2:46 - 2:49
    มันอาจน่าสับสนหน่อย, ระหว่าง
  • 2:49 - 2:51
    สัญลักษณ์สองตัวนี้, ถึงแม้ว่ามันจะเหมือนกันก็ตาม,
  • 2:51 - 2:53
    แต่ลำดับสลับกัน
  • 2:53 - 2:54
    นั่นเป็นเพราะเราคิด
  • 2:54 - 2:55
    ถึงมันต่างกัน
  • 2:55 - 2:58
    นี่บอกว่า, โอเค, อนุพันธ์ย่อยเทียบกับ x ก่อน, แล้วค่อย y
  • 2:58 - 3:00
    นี่มองมันเป็นเหมือนโอเปอรเรเตอร์มากกว่า, เราจึง
  • 3:00 - 3:03
    หาอนุพันธ์ย่อยของ x ก่อน, แล้วเราค่อยหา y, ถ้าคุณ
  • 3:03 - 3:05
    คูณโอเปอเรเตอร์นั้น
  • 3:05 - 3:09
    แต่ช่างเถอะ, นี่ก็สามารถเขียนเป็น อนุพันธ์ย่อย
  • 3:09 - 3:13
    ของ y, เทียบกับ x -- ขอโทษที, อนุพันธ์ย่อยของ Y, แล้ว
  • 3:13 - 3:15
    เราค่อยหาอนุพันธ์ย่อยเทียบกับ x
  • 3:15 - 3:18
    ตอนนี้, ผมจะบอกคุณตอนนี้, ว่าถ้าอนุพันธ์ย่อย
  • 3:18 - 3:21
    แต่ละตัวนั้นต่อเนื่อง -- และฟังก์ชัน
  • 3:21 - 3:25
    ส่วนใหญที่เรายุ่งเกี่ยวในโดเมนทั่วไป, ตราบใดที่มัน
  • 3:25 - 3:27
    ไม่มีความไม่ต่อเนื่อง, หรือรู, หรือ
  • 3:27 - 3:29
    อะไรประหลาดๆ ในนิยามฟังก์ชัน, พวกมัน
  • 3:29 - 3:30
    มักจะต่อเนื่องกัน
  • 3:30 - 3:33
    และโดยเฉพาะในแคลคูลัสปีหนึ่ง หรือวิชา
  • 3:33 - 3:36
    ดิฟเฟอเรนเชียลแคลคูลัส, เรายุ่งกับฟังก์ชัน
  • 3:36 - 3:38
    ต่อเนื่องโดยส่วนใหญ่, โดเมนของเรา
  • 3:38 - 3:40
    ถ้าฟังก์ชันทั้งสองต่อเนื่อง, ถ้าอนุพันธ์ย่อย
  • 3:40 - 3:45
    ทั้งคู่ต่อเนื่อง, แล้วสองตัวนี้จะ
  • 3:45 - 3:47
    เท่ากัน
  • 3:47 - 3:55
    ดังนั้นไซ ของ xy เท่ากับ ไซของ yx
  • 3:55 - 4:01
    ตอนนี้, เราสามารถใช้ความรู้นี้, ซึ่งก็คือ
  • 4:01 - 4:05
    กฏลูกโซ่ใช้กับอนุพันธ์ย่อย, และความรู้นี้
  • 4:05 - 4:09
    เพื่อแก้สมการอนุพันธ์ชุดหนึ่ง
  • 4:09 - 4:13
    สมการอนุพันธ์อันดับหนึ่ง, ประเภทที่เรียกว่า
  • 4:13 - 4:14
    สมการแม่นตรง
  • 4:14 - 4:18
    แล้วสมการแม่นตรงหน้าตาเป็นอย่างไร?
  • 4:18 - 4:22
    สมการแม่นตรงเป็นแบบนี้
  • 4:22 - 4:24
    การเลือกสีนี่เป็นเรื่องยากนะ
  • 4:24 - 4:26
    สมมุติว่านี่คือสมการอนุพันธ์ของผม
  • 4:26 - 4:30
    ผมมีฟังก์ชันของ x กับ y
  • 4:30 - 4:32
    ไม่รู้สฺล มันอาจเป็น x กำลังสอง คูณ
  • 4:32 - 4:33
    โคไซน์ของ y อะไรสกัอย่าง
  • 4:33 - 4:35
    ไม่รู้เหมือนกัน, มันเป็นฟังก์ชันใดๆ ของ x กับ y
  • 4:35 - 4:40
    บวกฟังก์ชันของ x กับ y อีกตัว, เราจะเรียกมันว่า n, คูณ dy,
  • 4:40 - 4:45
    dx เท่ากับ 0
  • 4:45 - 4:48
    นี่คือ -- ตอนนี้, ผมยังไม่รู้ว่ามันเป็นสมการแม่นตรงหรือเปล่า
  • 4:48 - 4:51
    แต่ถ้าคุณเห็นอะไรในรูปนี้, ปฏิกิริยาแรกของคุณ
  • 4:51 - 4:53
    ควรเป็น, โอ้ -- อืม, ปฏิกริยาแรกของคุณ
  • 4:53 - 4:54
    น่าจะเป็นว่า, มันแยกตัวแปรได้หรือเปล่า?
  • 4:54 - 4:56
    และคุณควรลองเล่นกับพีชคณิตสักหน่อย
  • 4:56 - 4:58
    เพื่อดูว่าแยกได้หรือเปล่า, เพราะมัน
  • 4:58 - 4:59
    เป็นวิธีที่ตรงไปตรงมาที่สุด
  • 4:59 - 5:02
    ถ้ามันแยกตัวแปรไม่ได้, แต่คุณยังสามารถเขียนในรูปนี้ได้,
  • 5:02 - 5:04
    คุณก็บอกว่า, เฮ้, มันเป็นสมการแม่นตรงหรือเปล่า?
  • 5:04 - 5:06
    แล้วสมการแม่นตรงคืออะไร?
  • 5:06 - 5:07
    ทีนี้, ดูตรงนี้
  • 5:07 - 5:12
    รูปแบบนี่ตรงนี้ ดูเหมือนกับ
  • 5:12 - 5:14
    รูปแบบนี้มาก
  • 5:14 - 5:18
    ถ้าเกิด M เป็นอนุพันธ์ย่อยของไซ, เทียบกับ x ล่ะ?
  • 5:18 - 5:25
    ถ้าเกิด ไซ, เทียบกับ x, เท่ากับ M ล่ะ?
  • 5:25 - 5:27
    ถ้าเกิดนี่คือไซ, เทียบกับ x ล่ะ?
  • 5:27 - 5:30
    แล้วถ้า นี่คือไซ, เทียบกับ y ล่ะ?
  • 5:30 - 5:32
    ไซ, เทียบกับ y, เท่ากับ N
  • 5:32 - 5:33
    ถ้าเกิดใช่ล่ะ?
  • 5:33 - 5:35
    ผมบอกว่า, เราไม่รู้แน่ชัด, จริงไหม?
  • 5:35 - 5:38
    และคุณจะเห็นนี่บางโอกาส, คุณไม่มีทางรู้
  • 5:38 - 5:40
    ชัดว่านี่คืออนุพันธ์ย่อยของ, เทียบกับ x ของ
  • 5:40 - 5:43
    ฟังก์ชันสักตัว, และนี่คืออนุพันธ์ย่อย, เทียบกับ y ของ
  • 5:43 - 5:44
    ฟังก์ชันสักตัว
  • 5:44 - 5:46
    แต่ถ้าเราบอกว่า, ถ้าใช่ล่ะ?
  • 5:46 - 5:50
    ถ้านี่เป็นจริงล เราก็สามารถเขียนนี่ใหม่
  • 5:50 - 5:53
    ว่าอนุพันธ์ย่อยของไซ, เทียบกับ x, บวกอนุพันธ์ย่อยของไซ
  • 5:53 - 5:59
    เทียบกับ y, คูณ dy dx, เท่ากับ 0
  • 5:59 - 6:02
    แล้วเจ้านี่ตรงนี้, ทางซ้ายมือตรงนี้, นั่น
  • 6:02 - 6:05
    ก็เหมือนกับเจ้านี่, จริงไหม?
  • 6:05 - 6:09
    นี่ก็แค่อนุพันธ์ของไซ, เทียบกับ x, โดยใช้
  • 6:09 - 6:11
    กฎลูกโซ่ที่มีอนุพันธ์ย่อย
  • 6:11 - 6:13
    คุณจึงเขียนมันใหม่ได้
  • 6:13 - 6:17
    คุณสามารถเขียนมันใหม่ได้, นี่ก็แค่อนุพันธ์ของไซ,
  • 6:17 - 6:20
    เทียบกับ x, ข้างในฟังก์ชันของ x
  • 6:20 - 6:23
    y, เท่ากับ 0
  • 6:23 - 6:28
    แล้วถ้าคุณเห็นสมการอนุพันธ์อีกอัน, และมันอยู่
  • 6:28 - 6:31
    ในรูปนี้, คุณก็บอกว่า, นาย, ฉันแยกตัวแปรไม่ได้, แต่บางที
  • 6:31 - 6:32
    มันอาจเป็นสมการแม่นตรงก็ได้
  • 6:32 - 6:36
    และว่ากันตามตรง, ถ้ามันปรากฏอยู่ใน
  • 6:36 - 6:39
    ข้อสอบ, มันก็น่าจะเป็นสมการแม่นตรง
  • 6:39 - 6:41
    แต่ถ้าคุณเห็นรูปนี้, คุณก็บอกว่า, นาย, บางที
  • 6:41 - 6:42
    มันอาจเป็นสมการแม่นตรง
  • 6:42 - 6:45
    และถ้านี่คือสมการแม่นตรง -- และผมจะบอกวิธี
  • 6:45 - 6:48
    ทดสอบมันในไม่ช้าโดยใช้ข้อมูลนี้ -- แล้วนี่สามารถ
  • 6:48 - 6:53
    เขียนได้เป็น อนุพันธ์ของฟังก์ชันล ไซ, โดย
  • 6:53 - 6:55
    นี่คืออนุพันธ์ย่อยของไซ, เทียบกับ x
  • 6:55 - 6:58
    นี่คืออนุพันธ์ย่อยของไซ, เทียบกับ y
  • 6:58 - 7:00
    แล้วถ้าคุณเขียนมันแบบนี้, และคุณหา
  • 7:00 - 7:01
    อนุพันธ์ของทั้งสองด้าน -- ขอโทษที, คุณหา
  • 7:01 - 7:07
    แอนติเดริเวทีฟทั้งสองด้าน, คุณควรได้ ไซของ x, y
  • 7:07 - 7:10
    เท่ากับ c เป็นคำตอบ
  • 7:10 - 7:13
    มันมีสองอย่างที่เราควรสนใจ
  • 7:13 - 7:16
    คูณอาจบอกว่า, โอเค, ซาล, คุรบอกเรื่อง
  • 7:16 - 7:20
    ไซ, อนุพันธ์ย่อย, ทั้งหมดนี้มา
  • 7:20 - 7:22
    หนึ่ง, ฉันจะรู้ได้อย่างไรว่ามันเป็นสมการแม่นตรง?
  • 7:22 - 7:25
    แล้วก็, ถ้ามันสมการแม่นตรง, แล้วเราจะ
  • 7:25 - 7:28
    อยู่ได้อย่างไรว่าไซคืออะไร ฉันจะแก้หาไซได้อย่างไร?
  • 7:28 - 7:32
    ทีนี้วิธีหาว่ามันเป็นสมการแม่นตรงหรือไม่, เราใช้
  • 7:32 - 7:35
    ข้อมูลนี่ตรงนี้
  • 7:35 - 7:38
    เรารู้ว่าถ้า ไซ กับอนุพันธ์ของมันต่อเนื่อง
  • 7:38 - 7:42
    ตลอดทั้งโดเมน, แล้วเมื่อคุณหาอนุพันธ์ย่อย,
  • 7:42 - 7:46
    เทียบกับ x แล้วก็ y, นั่นจะเหมือนกับ
  • 7:46 - 7:47
    การหากลับลำกับกัน
  • 7:47 - 7:49
    เราจึงบอกว่า, นี่คืออนุพันธ์ย่อย,
  • 7:49 - 7:50
    เทียบกับ x, จริงไหม?
  • 7:50 - 7:53
    -
  • 7:53 - 7:56
    และนี่คืออนุพันธ์ย่อย, เทียบกับ y
  • 7:56 - 8:00
    แล้วถ้านี่คือสมการแม่นตรง, ถ้านี่คือสมการ
  • 8:00 - 8:03
    แม่นตรง, ถ้าเราหาอนุพันธ์ย่อยของเจ้านี่, เทียบ
  • 8:03 - 8:05
    กับ y, จริงไหม?
  • 8:05 - 8:12
    ถ้าเราหาอนุพันธ์ย่อยของ M, เทียบกับ y --
  • 8:12 - 8:16
    อนุพันธ์ย่อยของไซ, เทียบกับ x, เท่ากับ M
  • 8:16 - 8:18
    ถ้าเราหาอนุพันธ์ย่อยของพวกนั้น, เทียบกับ y --
  • 8:18 - 8:22
    เราก็เขียนมันใหม่ได้ว่า -- มันควรเท่ากับ
  • 8:22 - 8:28
    อนุพันธ์ย่อยของ N เทียบกับ x, จริงไหม?
  • 8:28 - 8:32
    อนุพันธ์ย่อยของ ไซ, เทียบกับ y, เท่ากับ N
  • 8:32 - 8:35
    แล้วถ้าเราหาอนุพันธ์ย่อย, เทียบกับ x, ของ
  • 8:35 - 8:41
    ทั้งสองตัวนี้, เรารู้จากอันนี้ ว่า พวกมันควรเท่ากัน, ถ้าไซ
  • 8:41 - 8:44
    กับอนุพันธ์ย่อยของมันต่อเนื่องตลอดโดเมนนั้น
  • 8:44 - 8:49
    นี่ควรเท่ากัน
  • 8:49 - 8:52
    นี่จึงเป็นวิธีเพื่อทดสอบว่า
  • 8:52 - 8:54
    นี่เป็นสมการแม่นตรงหรือไม่
  • 8:54 - 8:56
    ขอผมเขียนพวกนี้ใหม่ทั้งหมด และสรุป
  • 8:56 - 8:57
    มันหน่อย
  • 8:57 - 9:05
    ถ้าคุณอะไรสักอย่างในรูปนี้, M ของ x, y บวก N ของ x,
  • 9:05 - 9:10
    y, คูณ dy dx เท่ากับ 0
  • 9:10 - 9:13
    แล้วคุณหาอนุพันธ์ย่อยของ M เทียบกับ y,
  • 9:13 - 9:18
    แล้วคุณหาอนุพันธ์ย่อยของ N,
  • 9:18 - 9:24
    เทียบกับ x, แล้วพวกมันเท่ากัน, แล้ว --
  • 9:24 - 9:26
    ที่จริงแล้วคือ ก็ต่อเมื่อ, มันไปทั้งสองทาง --
  • 9:26 - 9:31
    นี่คือสมการแม่นตรง, เป็นสมการอนุพันธ์แบบแม่นตรง
  • 9:31 - 9:32
    นี่ก็คือสมการแม่นตรง
  • 9:32 - 9:36
    และถ้ามันเป็นสมการแม่นตรง, นั่นบอกเราว่า มันมี
  • 9:36 - 9:47
    ไซ, ที่มีอนุพันธ์ของไซ x,y
  • 9:47 - 9:52
    เท่ากับ 0, หรือไซของ x, y เท่ากับ c, เป็นคำตอบ
  • 9:52 - 9:53
    ของสมการนี้
  • 9:53 - 9:58
    แล้วอนุพันธ์ย่อยของไซ, เทียบกับ x
  • 9:58 - 10:00
    เท่ากับ M
  • 10:00 - 10:04
    และอนุพันธ์ย่อยของไซ เทียบกับ y
  • 10:04 - 10:05
    เท่ากับ N
  • 10:05 - 10:08
    และผมจะแสดงให้ดูในวิดีโอหน้า ว่าเราจะใช้ข้อมูลนี้
  • 10:08 - 10:10
    เพื่อแก้หาไซได้อย่างไร
  • 10:10 - 10:12
    ตรงนี้ มีบางอย่างที่ผมอยากชี้ให้เห็น
  • 10:12 - 10:14
    นี่จะเป็นอนุพันธ์ย่อยของไซ,
  • 10:14 - 10:18
    เทียบกับ x, แต่ตอนเราทดสอบความแม่นตรง,
  • 10:18 - 10:20
    เราหามันเทียบกับ y, เพราะเราอยากได้
  • 10:20 - 10:21
    อนุพันธ์ย่อยผสม
  • 10:21 - 10:23
    เช่นเดียวกัน, นี่จะเท่ากับอนุพันธ์ย่อยของไซ
  • 10:23 - 10:27
    เทียบกับ y, แต่ตอนเราทดสอบ, เราจะ
  • 10:27 - 10:30
    หาอนุพันธ์ย่อยของมันเทียบกับ x เราถึงจะได้
  • 10:30 - 10:31
    อนุพันธ์ย่อยผสม
  • 10:31 - 10:33
    นี่คือเทียบกับ y, แล้วเทียบกับ
  • 10:33 - 10:34
    x, คุณจะได้อันนี้
  • 10:34 - 10:36
    เอาล่ะ, ผมรู้ว่ามันซับซ้อนหน่อย, แต่ถ้า
  • 10:36 - 10:38
    คุณเข้าใจทุกอย่างที่ผมทำ, ผมว่าคุณน่าจะ
  • 10:38 - 10:41
    มีสัญชาตญาณแล้วว่าทำไมวิธีการของ
  • 10:41 - 10:43
    สมการแม่นตรงถึงใช้ได้
  • 10:43 - 10:46
    ผมจะพบคุณใหม่ในวิดีโอหน้า, โดยเราจะ
  • 10:46 - 10:49
    แก้สมการแม่นตรงกันจริงๆ แล้วเจอกันครับ
  • 10:49 - 10:50
    -
Title:
สัญชาตญาณเรื่องสมการแม่นตรง 2 (ไม่เชิงพิสูจน์)
Description:

โครงสร้างพื้นฐานตามสัญชาตญาณ สำหรับสมการแม่นตรง ภาคต่อ

more » « less
Video Language:
English
Duration:
10:51

Thai subtitles

Revisions